Page 17 - สังคมมนุษย์
P. 17
การเปลยี่ นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรมกับปญั หาสังคม 13-7
สนธยา พลศรี (2545, น. 191-192) ได้อธิบายว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การ
เปลย่ี นแปลงในรปู แบบและหนา้ ทขี่ องโครงสรา้ งสงั คม คอื การจดั ระเบยี บหรอื องคก์ ารทางสงั คมและสถาบนั
ทางสังคม ได้แก่ การเปลยี่ นแปลงบรรทัดฐานทางสงั คม ความแตกต่างทางสงั คม การขดั เกลาทางสังคม
กลุม่ สงั คมและสถาบนั ต่างๆ ในสงั คม
สว่ นการเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรม หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงวถิ ชี วี ติ ของมนษุ ยใ์ นสงั คมใดสงั คม
หนงึ่ ทง้ั ในดา้ นวตั ถุ เชน่ เทคโนโลยตี า่ งๆ สง่ิ กอ่ สรา้ งตา่ งๆ เปน็ ตน้ และสง่ิ ทไี่ มใ่ ชว่ ตั ถุ เชน่ ศลิ ปะ ศาสนา
ระบบครอบครัวและเครือญาติ การสมรส การเมือง การศึกษา นันทนาการและองค์ประกอบอ่ืนๆ ของ
วัฒนธรรม
สรุ ชิ ยั หวนั แกว้ (2553, น. 156) ไดก้ ลา่ ววา่ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม หมายถงึ การเปลย่ี นแปลง
ของระบบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ในสงั คม และการเปลย่ี นแปลงทางดา้ นโครงสรา้ งของความสมั พนั ธ์
ระหว่างกลุ่มและส่วนประกอบของสังคมน้ัน เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างชนบท ชาวเมือง เป็นต้น การ
เปลย่ี นแปลงทางสงั คมดงั กลา่ วนย้ี อ่ มเกดิ ขนึ้ ในระดบั กลมุ่ บคุ คลและในระดบั สถาบนั ทางสงั คม ไมว่ า่ จะเปน็
ในสถาบนั ครอบครวั เครือญาติ การสมรส ครองเรือน หรอื สถาบันการเมืองเศรษฐกจิ ก็ได้
สว่ นการเปลี่ยนแปลงทางวฒั นธรรมจงึ หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้นึ ในด้านต่างๆ ทมี่ นุษย์
ประดิษฐ์และสร้างข้ึน และท่ีส�ำคัญก็คือ ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านค่านิยม บรรทัดฐานและระบบ
สญั ลักษณต์ ่างๆ ในสงั คมนัน้ ๆ การเปล่ียนแปลงในแง่ส่งิ ของเครือ่ งใช้เกิดขนึ้ ง่ายกวา่ แตก่ ารเปล่ียนแปลง
ในเรอ่ื งคา่ นยิ มและสญั ลกั ษณท์ างสงั คมมกั จะตอ้ งใชเ้ วลานานและยากเยน็ กวา่ ตวั อยา่ ง เชน่ การเปลย่ี นแปลง
ของค่านิยมจากสถานภาพและบทบาทชายเป็นใหญ่มาเป็นหญิงและชายเท่าเทียมกันค่านิยมในเรื่องการ
เลือกคู่ การแต่งงาน
งามพิศ สัตยส์ งวน (2548, น. 24 อ้างใน จารุภา ศริ ิธวุ านนท์, 2553, น. 6) ได้กล่าวถงึ การ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change) ว่าหมายถึง การเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ของคนตั้งแต่
2 คนข้ึนไป โดยยึดบรรทัดฐานทางสังคมเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อกัน การเปล่ียนแปลงทางสังคมจึง
เป็นความแตกตา่ งในรปู แบบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคนท่ีเขา้ สมั พนั ธก์ นั ความแตกตา่ งในบทบาทของผู้เข้า
สมั พนั ธ์ และความแตกตา่ งในเป้าหมายหรอื การท�ำหน้าที่ของสถาบนั สงั คม
ส่วนการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม (Cultural Change) หมายถึง ความแตกต่างในระบบ
วัฒนธรรมหรือเปล่ียนแปลงองค์ประกอบย่อยของวัฒนธรรม เช่น ความแตกต่างในระบบวัฒนธรรมหรือ
เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบย่อยของวัฒนธรรม เช่น ความแตกต่างในด้านค่านิยม ความเช่ือ อุดมการณ์
ประเพณี พิธกี รรมสญั ลกั ษณ์ และโลกทศั น์ รวมทงั้ วัฒนธรรมทางวัตถดุ ว้ ย เมือ่ นำ� มาเปรยี บเทยี บกนั ใน
เวลาทีแ่ ตกตา่ งกนั ไป เช่น 10 ปี 20 ปี หรอื 50 ปี
พัชรินทร์ สิระสุนทร (2556, น. 233) ได้อธิบายว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคมหรือ Social
Change หมายถึง สภาพความแตกต่างที่เกดิ ข้ึนกบั พฤติกรรมของสังคม (Social Behavior) โครงสรา้ ง
ทางสังคม (Social Structure) การจัดระเบียบสงั คม (Social Organization) องคก์ ร (Organization)
ตลอดจนระบบความสัมพันธ์ (Social Relationship) ของคนมากกว่า 2 คนที่อาศัยอยู่รวมกันอย่างมี
เป้าหมาย มกี ารจัดวางระเบยี บ และด้วยความรสู้ ึกเปน็ เจ้าของ (Sense of Belonging)