Page 22 - สังคมมนุษย์
P. 22

13-12 สงั คมมนษุ ย์
                 - 	วฒั นธรรมทีไ่ ม่ใชว่ ตั ถุ (Non-Material Culture) ก็คือ ส่ิงทเี่ ปน็ นามธรรมต่างๆ

ไม่สามารถจับต้องได้ อันได้แก่ แบบอย่างทางพฤติกรรม ความคิด ความเช่ือ กิริยา มารยาท ค่านิยม
อดุ มการณ์ต่างๆ เปน็ ต้น

            ความล้าทางวัฒนธรรมเกดิ ข้ึนเม่อื วฒั นธรรมท่เี ป็นวตั ถเุ ปลย่ี นไปแลว้ แต่วฒั นธรรมทไ่ี ม่ใช่
วัตถเุ ปลยี่ นแปลงไมท่ นั หรอื อยกู่ บั ท่ี และโดยปกตวิ ฒั นธรรมทางวตั ถมุ กั จะเจรญิ ไปไดร้ วดเรว็ กวา่ วฒั นธรรม
ทไี่ มใ่ ชว่ ตั ถุ ซง่ึ เปน็ เหตทุ ำ� ใหเ้ กดิ ความไมส่ มดลุ หรอื ไมส่ อดคลอ้ งกนั ในสงั คม (ศริ ริ ตั น์ แอดสกลุ , 2555, น.
223)

            ยกตวั อยา่ งเชน่ ในสงั คมปจั จุบันรถยนต์ ซงึ่ ถือได้ว่า เปน็ วฒั นธรรมทางวตั ถุมคี วามเจริญ
เร็วมาก มกี ารใช้เทคโนโลยีขั้นสงู มคี วามเรว็ สงู มคี วามหรหู รา สะดวกสบายภายในรถ รวมท้ังมีราคาสูง
มีระบบนิรภยั ต่างๆ เช่น เขม็ ขัดนริ ภยั ถุงลมนิรภัย ตา่ งๆ มากมาย

            แตใ่ นทางตรงกนั ขา้ มวฒั นธรรมทไ่ี มใ่ ชว่ ตั ถทุ เี่ กย่ี วขอ้ งเจรญิ ตามไมท่ นั ซงึ่ กค็ อื มารยาทใน
การขับรถ เจรญิ ตามไม่ทัน ผขู้ บั ขี่ไม่มีมารยาทในการขับรถ ไมเ่ คารพกฎจราจร เมาสุราขับรถ

            ต่อให้วัฒนธรรมทางวัตถุ ซึ่งในที่น้ีก็คือ รถยนต์ เจริญก้าวหน้าเพียงไรก็ตาม ก็ย่อมเกิด
อบุ ตั เิ หตแุ ละความสญู เสยี ขนึ้ ได้ เนอื่ งจากวฒั นธรรมทไี่ มใ่ ชว่ ตั ถุ ซง่ึ ในทน่ี ก้ี ค็ อื มารยาทในการขบั รถ เจรญิ
ตามไม่ทัน

            และเมอื่ น�ำทฤษฎนี ้ีมาอธบิ าย สงั คม กจ็ ะพบว่า สังคมทกุ สงั คมเกิดการเปลีย่ นแปลงทำ� ให้
เกิดความเสียสมดุลในสังคมนั้นๆ เนื่องจากรับวัฒนธรรมทางวัตถุได้เร็วกว่าวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ ซึ่งจะ
พบว่า มคี วามพยายามจะผลักดันหรอื พัฒนาความเจริญใหก้ ับสงั คม โดยยดึ ความเจรญิ ทางวัตถุเป็นตัวช้ี
วัด เช่น โครงสร้างพน้ื ฐานต่างๆ อนั ไดแ้ ก่ ถนนหนทาง ไฟฟา้ นำ�้ ประปา ลักษณะอาชพี เป็นตน้

            2.2 	ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าท่ี (Structural and Functional Theory) ผรู้ เิ รมิ่ ทฤษฎนี ้ี กค็ อื
นกั สงั คมวทิ ยาชาวองั กฤษ ชอื่ เฮอรเ์ บริ ต์ สเปนเซอร์ (Herbert Spencer, 1820-1903) ซงึ่ แตเ่ ดมิ นน้ั เปน็
วศิ วกร แลว้ จึงหนั มาสนใจเรือ่ งสังคม (สภุ างค์ จันทวานิช, 2553, น. 139) ซ่งึ หลักการของทฤษฎีน้ี ได้
อธิบายในเชงิ เปรยี บเทียบวา่ สงั คมเหมือนกับส่ิงมีชีวติ อย่างหน่ึง (Biological Organism) หรอื เปรียบ
เทียบสังคมเหมือนกับส่ิงมีชีวิตหรืออินทรีย์อย่างหนึ่ง หมายความว่า ส่ิงมีชีวิตต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ร่างกายของมนุษย์น้นั จะต้องประกอบไปด้วยโครงสรา้ งตา่ งๆ ค�ำวา่ โครงสรา้ งในทีน่ ก้ี ็คือ ระบบตา่ งๆ ท่ี
ประกอบกันเขา้ เปน็ รา่ งกายมนษุ ย์ เช่น ระบบหายใจ ระบบกล้ามเนื้อ ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียน
ของกระแสเลือด ฯลฯ ซง่ึ แต่ละระบบทีป่ ระกอบกนั เขา้ เป็นร่างกายมนุษย์ ก็ถือเป็นโครงสร้างของรา่ งกาย
มนษุ ย์ ซง่ึ ระบบตา่ งๆ ทป่ี ระกอบกนั เขา้ เปน็ รา่ งกายมนษุ ยน์ นั้ ไมไ่ ดป้ ระกอบอยรู่ ว่ มกนั เฉยๆ แตท่ กุ ระบบ
ล้วนต้องท�ำหน้าที่ให้สอดประสานกันเพื่อให้ร่างกายโดยรวม หรือระบบโดยรวมด�ำรงอยู่ได้ เช่น ระบบ
หายใจกท็ ำ� หน้าท่นี ำ� ออ๊ กซิเจนเข้าส่รู า่ งกาย ระบบกล้ามเน้อื ท�ำหนา้ ทใ่ี นการเคล่ือนไหว ระบบยอ่ ยอาหาร
กท็ ำ� หนา้ ทยี่ อ่ ยอาหารเพ่ือเป็นแหลง่ พลงั งานแก่รา่ งกาย พดู งา่ ยๆ การท่ีรา่ งกายของมนุษย์เราด�ำรงอยู่ได้
ก็เน่ืองจากทุกโครงสร้างหรือระบบย่อยต่างๆ ในร่างกายท�ำหน้าท่ีนั้นเอง หากร่างกายเราผิดปกติหรือไม่
สบายแสดงวา่ โครงสรา้ งของรา่ งกายบางอยา่ งไมท่ �ำหนา้ ท่ี เชน่ ปวดทอ้ ง อาจจะเกดิ จากระบบยอ่ ยอาหาร
ผดิ ปกติหรือไมท่ ำ� หน้าที่ เป็นตน้
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27