Page 24 - สังคมมนุษย์
P. 24
13-14 สังคมมนุษย์
ขน้ึ ในสงั คมนน้ั เกดิ ขนึ้ จากการปะทะกนั หรอื ขดั แยง้ กนั ระหวา่ งสง่ิ เกา่ หรอื สงิ่ ทดี่ ำ� รงอยใู่ นสงั คมไมว่ า่ จะเปน็
วิถีชีวติ ความเป็นอยู่ ระบบความสมั พันธ์ และวฒั นธรรมท้องถิ่น ซึง่ ไมส่ ามารถเข้ากนั ไดห้ รือไปกันได้กบั
สง่ิ ใหมห่ รอื การเปลยี่ นแปลงจากสงั คมภายนอกทแี่ พรเ่ ขา้ สสู่ งั คมชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ยกตวั อยา่ งเชน่ หากตอ้ งการ
พัฒนาชุมชนทอ้ งถนิ่ ใหเ้ จรญิ และมีความทนั สมัย กจ็ ะต้องแลกหรอื ตอ้ งสญู เสยี อะไรบางอยา่ งในชมุ ชนทอ้ ง
ถนิ่ ไป กรณกี ารสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วจะเหน็ ไดช้ ดั เจนวา่ สง่ ผลกระทบตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ตามมาเชน่ กนั ไมว่ า่
จะเปน็ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ปญั หาอาชญากรรม ปญั หายาเสพตดิ ทตี่ ามมาพรอ้ มกบั นกั ท่องเที่ยว เปน็ ตน้
4. ทฤษฎีแห่งการขึ้นลงของสังคม (Rise and Fall Theory) ผทู้ เี่ สนอทฤษฎแี หง่ การขนึ้ ลงของ
สังคม กค็ อื นกั ประวัติศาสตร์ ชาวเยอรมัน ออสวอลด์ สเปเจลอร์ (Oswald Spengler, 1880-1936) ซ่ึง
ทฤษฎที อี่ ธบิ ายถงึ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ งออกไปจากทฤษฎตี า่ งๆ ทกี่ ลา่ วมาแลว้
เน่ืองจากทฤษฎีนี้ เห็นว่า สังคมและวัฒนธรรมมีจุดเริ่มต้นแล้วค่อยๆ เจริญก้าวหน้าขึ้นเร่ือยๆ
จนถงึ ทส่ี ดุ กจ็ ะเสอ่ื มหายไปเหมอื นกบั การเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ยท์ เี่ รมิ่ ตน้ จากทารก เดก็ วยั รนุ่ ผใู้ หญ่ วยั ชรา
แลว้ ตายไปในทส่ี ดุ หรอื เชน่ เดยี วกบั เวลา ทเี่ รมิ่ ตน้ จาก เชา้ เทยี่ ง สาย บา่ ย เยน็ และคำ�่ และกลบั มาเชา้ อกี
กล่าวโดยสรปุ แล้ว ทฤษฎีแห่งการข้นึ ลงของสังคม เปน็ ทฤษฎีทอี่ ธบิ ายว่า สังคมและวัฒนธรรม
เมอื่ มจี ดุ เรมิ่ ตน้ แลว้ คอ่ ยเจรญิ กา้ วหนา้ ขนึ้ เรอื่ ยๆ จนถงึ ทส่ี ดุ กจ็ ะเสอ่ื มหายเหมอื นการเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์
แต่การเส่ือมของสังคมและวัฒนธรรมน้ันไม่ได้สูญหายไปไหน แต่พยายามปรับปรุงให้เกิดวัฒนธรรมใหม่
ข้ึนมา (โกวทิ ย์ พวงงาม, 2553, น. 73)
ทฤษฎนี ห้ี ากนำ� มาอธบิ ายการเปลย่ี นแปลงของสงั คมวฒั นธรรมชมุ ชนทอ้ งถนิ่ กจ็ ะพบวา่ ในอดตี
สงั คมวฒั นธรรมชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เปน็ สง่ิ ทเี่ คยดำ� รงอยคู่ กู่ บั สงั คมไทย จนภายหลงั กระแสความทนั สมยั ตา่ งๆ
แพร่กระจายเข้าสู่ชนบท ท�ำให้คุณค่าและวัฒนธรรมท้องถ่ินลดบทบาท ความส�ำคัญและสูญหายไป
จนปัจจุบันเร่ิมเกดิ ความตระหนกั และเหน็ ถงึ ความส�ำคัญ เกดิ กระแสการอนรุ ักษแ์ ละฟ้นื ฟูสงั คมวัฒนธรรม
ชุมชนทอ้ งถิ่นเพ่ิมข้นึ เรอื่ ยๆ
กิจกรรม 13.1.2
จงอธบิ ายทฤษฎกี ารเปล่ยี นแปลงทางสงั คมและวัฒนธรรม
แนวตอบกิจกรรม 13.1.2
ทฤษฎีการเปลย่ี นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม ประกอบดว้ ย
1. ทฤษฎวี วิ ฒั นาการ (Evolutionary Theory)
2. ทฤษฎแี ห่งการสมดุล (Equilibrium Theory)
3. ทฤษฎีแหง่ การขัดแย้ง (Conflict Theory)
4. ทฤษฎแี หง่ การข้ึนลงของสังคม (Rise and Fall Theory)