Page 43 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 43

แนวคิดเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมทางการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 1-33
       3. 	 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ ผู้เรียนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมและเป็นผู้ให้ข้อมูลผ่านส่ือ
แทนที่จะเป็นผู้รับข้อมูลแต่เพียงฝ่ายเดียว
       4. 	 ท�ำให้เกิดอุปกรณ์และเครื่องมือใหม่ ๆ ที่มีประสิทธิภาพมากข้ึน เช่น สมาร์ทโฟนท่ีฉายภาพ
ขึ้นจอได้โดยไม่ต้องน�ำไปต่อพ่วงกับเคร่ืองฉายภาพ เพ่ือความสะดวกในการน�ำเสนอข้อมูลในกลุ่มเล็ก ๆ ได้
ทันที หรือโทรทัศน์และโทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ (Smart TV, Smart-
phone)

                      ภาพท่ี 1.11 สมารท์ โฟนทมี่ ีเครอื่ งฉายในตัวและสมารท์ ทีวี
       5. 	 เปิดโอกาสให้มีการน�ำเสนอข้อมูลผ่านส่ือ ช่องทาง และรูปแบบท่ีหลากหลายมากข้ึนกว่าเดิม
ตัวอย่างเช่น โทรทัศน์ดิจิทัลสามารถแพร่ภาพผ่านระบบการออกอากาศแบบปกติ และแพร่ภาพผ่านทาง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Webcast) ท�ำให้ผู้ท่ีชมโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลนอกจากจะรับชมผ่านทางเคร่ืองรับ
โทรทศั นแ์ ลว้ ยงั สามารถรบั ชมรายการผา่ นทางอปุ กรณอ์ น่ื  ๆ เชน่ สมารท์ โฟน แทบ็ เลต็ (Tablet) และโนต้ บคุ๊
คอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48