Page 24 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 24

2-14 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

       การใช้สื่อวัสดุ 3 มิติ เช่น แบบจ�ำลองโครงสร้างของ DNA ผู้เรียนจะสังเกตเห็นส่ิงที่ส่ือน�ำเสนอใน
รูปแบบ 3 มิติ ซึ่งนอกจากจะเห็นโครงสร้างของ DNA เกลียวคู่ที่มีเบสคู่สม อะดีนีนจับคู่กับไทมีน (A:T)
กวานีนจับคู่กับไซโทซีน (G:C) DNA สองสายจับกันเป็นคู่ ๆ โดยเบสจะเรียงตัวซ้อนกันเป็นเหมือนข้ันบันได
เวียนเป็นสายสวนทางกัน โดยเกลียวคู่น้ีจะเกิดโครงสร้างท่ีเป็นร่อง major groove และร่อง minor groove
ยังเห็นว่าแต่ละโครงสร้างเช่ือมต่อกันอย่างไร มีการวนและการท�ำมุมกันอย่างไร เห็นร่องจากโมเดลได้ชัดเจน
โดยที่ผู้เรียนสามารถสังเกตได้ 360 องศา เป็นต้น ดังภาพที่ 2.3 ข.

    ก. รูปภาพเบสคู่สมของ DNA และโครงสร้างที่  ข. รูปภาพแบบจ�ำลองโครงสร้างของ DNA
	 เป็นสายสวนทางกัน

 ภาพท่ี 2.3 ตวั อยา่ งการใชส้ ่อื วัสดุ 2 มิติ และ 3 มิติ ในการนำ� เสนอแนวคิดทางชีววทิ ยาเร่ืองโครงสรา้ งของ DNA

ท่ีมา: 	 Johnson, R. Biology (6th ed.). p. 286. (ก.)
	 วันเฉลิม เปียสี. (2559). โรงเรียนแสงทองวิทยา จังหวัดสงขลา. (ข.)
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29