Page 23 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 23

สื่อท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนชีววิทยา 2-13

                     (8) 	แบบจ�ำลองถุงลมปอด เป็นหุ่นจ�ำลองถุงลมท่ีอยู่ภายในปอด โดยขยายให้มี
ขนาดใหญ่ทำ� ใหศ้ ึกษารายละเอยี ดได้งา่ ย

                     (9) 	หุ่นจ�ำลองตา แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของตาเป็นภาษาอังกฤษ เลนส์ตา
สามารถถอดประกอบไดแ้ ละแสดงการทำ� งานของตา แสดงหลกั การทำ� งานของเลนสต์ า อธบิ ายเรอ่ื งการรบั แสง
โดยมีแหลง่ กำ� เนดิ แสง และสามารถเปล่ยี นเลนส์รบั แสงได้

                     (10) หุ่นจ�ำลองศีรษะและสมองแยกช้ินส่วนท�ำจากไฟเบอร์กลาส สามารถแยก
ชน้ิ ส่วนต่าง ๆ ออกจากกนั ได้

                     (11)	หุน่ จ�ำลองศีรษะ-คอ แบบจำ� ลองผ่าตัดตามยาวแสดงส่วนของสมอง
                     (12)  แบบจ�ำลองจมกู ไฟเบอร์กลาส แสดงโครงสร้างภายในและภายนอกของจมูก
                     (13)  หุ่นจำ� ลองหู แสดงลกั ษณะของหชู ้นั ใน หชู ัน้ กลาง และชน้ั นอก
                     (14)  หนุ่ จำ� ลองไต แสดงโครงสรา้ งภายในไต สามารถแยกชิ้นอิสระได้
                     (15) หุ่นจ�ำลองฟัน หุ่นจ�ำลองฟันแบบมีลิ้น พร้อมแปรงใช้อธิบายส่วนประกอบ
ภายในปาก ช่วยในการสาธิตแปรงฟัน
                     (16) หุ่นจ�ำลองไต-กระเพาะปสั สาวะ แสดงโครงสรา้ งภายในไต รูปทรงของไตและ
กระเพาะปสั สาวะ และทางเดนิ ปสั สาวะ
            2.1.3 	ลกั ษณะของหุ่นจ�ำลองทเ่ี หมาะสมในการใช้น�ำเสนอแนวคิดทางชีววทิ ยา
                1) 	หุ่นจ�ำลองน�ำเสนอแนวคิดทางชีววิทยาท่ีถูกต้องแก่ผู้เรียน
                2) 	หุ่นจ�ำลองขยายขนาดหรือลดขนาดจากขนาดท่ีแท้จริงเพ่ือให้สะดวกแก่การสังเกต
                3) 	หุ่นจ�ำลองแสดงให้ผู้เรียนสังเกตเห็นภายในได้ซ่ึงไม่สามารถเห็นได้จากการสังเกต
ของจริง
                4) 	หุ่นจ�ำลองมีการใช้สีเพ่ือเน้นให้ผู้เรียนสังเกตเห็นส่วนส�ำคัญ
                5) 	อาจตัดส่วนที่ไม่ส�ำคัญออก เพ่ือให้สังเกตแล้วเข้าใจได้ง่ายขึ้น
                6) 	หุ่นจ�ำลองสามารถใช้ในการอธิบายเปรียบเทียบเพื่อหาความสัมพันธ์กับของจริงได้

3. 	ตัวอยา่ งการใช้ส่อื วัสดุ 2 มิติ และ 3 มติ ิ ในการน�ำเสนอแนวคิดทางชวี วิทยา

       ตัวอย่างการน�ำเสนอแนวคิดทางชีววิทยาเกี่ยวกับโครงสร้างของสารชีวโมเลกุล เช่น กรด
นิวคลีอิค (ดีเอ็นเอ: DNA)

       การใช้ส่ือวัสดุ 2 มิติ เช่น รูปภาพหรือแผ่นชาร์ต ผู้เรียนจะสังเกตเห็นสิ่งที่สื่อน�ำเสนอใน
รูปแบบ 2 มิติ ด้านโครงสร้างว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง หรือเรียกช่ือโครงสร้างดังกล่าวว่าอย่างไรตามที่ระบุ
ไว้ในส่ือ เช่น โครงสร้างของ DNA เกลียวคู่ท่ีมีเบสคู่สม (Complementary base pair) อะดีนีนจับคู่กับ
ไทมนี (A:T) โดยใช้พนั ธะไฮโดรเจน 2 พันธะ กวานนี จบั คู่กับไซโทซีน (G:C) โดยใช้พันธะไฮโดรเจน 3 พนั ธะ
DNA สองสายจับกันเป็นคู่ ๆ โดยเบสจะเรียงตัวซ้อนกันเป็นเหมือนข้ันบันไดเวียนเป็นสายสวนทางกัน โดย
เกลียวคู่น้ีจะเกิดโครงสร้างที่เป็นร่อง (Groove) โดยร่องหนึ่งมีขนาดใหญ่กว่า (Major groove) และอีกร่อง
หนึ่งมีขนาดเล็กกว่า (Minor groove) ดังภาพที่ 2.3 ก.
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28