Page 20 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 20
2-10 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.1 หุ่นจ�ำลอง/แบบจ�ำลอง (Models) หมายถึง วัสดุ 3 มิติที่สร้างข้ึนเพ่ือเลียนแบบของจริง
เนอ่ื งจากขอ้ จำ� กดั บางประการทไี่ มส่ ามารถจะใชข้ องจรงิ ในการนำ� เสนอแนวคดิ ทางชวี วทิ ยาได ้ เชน่ การอธบิ าย
ลักษณะและต�ำแหน่งของออร์แกเนลภายในเซลล์ หรือการอธิบายลักษณะและต�ำแหน่งของอวัยวะภายใน
ร่างกายของคนหรือสัตว์ เป็นต้น
2.1.1 ประเภทของหุ่นจ�ำลอง/แบบจ�ำลอง หุ่นจ�ำลองอาจแบ่งได้หลายประเภทตามลักษณะ
และความมุ่งหมายของหุ่นจ�ำลองน้ัน ๆ โดยท่ัวไปหุ่นจ�ำลองท่ีน�ำมาใช้ในการน�ำเสนอแนวคิดทางชีววิทยาแบ่ง
เป็นประเภทได้ ดังน้ี
1) หนุ่ จำ� ลองรปู ทรงภายนอก (Solid model) หุ่นจ�ำลองแบบนี้ต้องการแสดงรูปร่าง หรือ
รูปทรงภายนอกเท่าน้ัน เพื่อให้ผู้เรียนได้ท�ำความเข้าใจแนวคิดทางชีววิทยาทั่ว ๆ ไป โดยไม่ได้แสดง
รายละเอียด หุ่นจ�ำลองแบบน้ีอาจมีน้ําหนัก ขนาด สี พื้นผิว ลวดลาย มาตราส่วน ที่อาจจะคลาดเคลื่อนไป
จากของจริงได้
2) หุ่นจ�ำลองเท่าของจริง (Exact model) มีขนาดรูปร่างรายละเอียดทุกอย่างเท่าของ
จริงทุกประการ เพื่อให้ผู้เรียนได้ท�ำความเข้าใจแนวคิดทางชีววิทยาในรายละเอียดทุกอย่างในของจริง
3) หุ่นจ�ำลองแบบขยายหรือแบบย่อ (Enlarge, Reduce model) เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า
หุ่นจ�ำลองแบบมาตราส่วน ท้ังน้ี เพราะย่อหรือขยายให้เล็กหรือใหญ่เป็นสัดส่วนกับของจริงทุกส่วน เพื่อให้
ผู้เรียนได้ท�ำความเข้าใจแนวคิดทางชีววิทยาในรายละเอียดท่ีสัมพันธ์กับของจริงได้ ตัวอย่างเช่น
- หุ่นจ�ำลองโครงสร้างภายในและภายนอกดวงตา ขยาย 6 เท่า แสดงให้เห็น
ส่วนตา่ ง ๆ เช่น สว่ นของตาขาว เยือ่ โคลอยด์ จอรับภาพ แก้วตา มา่ นตา รูม่านตา เลนส์ เสน้ เลือด เสน้ ประสาท
และกลา้ มเน้ือแต่ละส่วน
- หุ่นจ�ำลองเซลลพ์ ชื ขยายใหญข่ ้นึ เปน็ 20,000 เทา่ แสดงถงึ โครงสรา้ งทว่ั ไปของ
เซลล์พืชและเซลลใ์ นอวยั วะต่าง ๆ
4) หุ่นจ�ำลองแบบผ่าซีก (Cut away models) แสดงให้เห็นลักษณะภายใน โดยตัด
พื้นผิวบางภายนอก บางส่วนออกให้เห็นว่า ชิ้นส่วนต่าง ๆ ประกอบกันอย่างไร จึงจะเกิดเป็นสิ่งนั้น ๆ เช่น
หุ่นจ�ำลองตัดให้เห็นภายใน เช่น ตัดให้เห็นลักษณะภายในของดอกไม้ ตัดให้เห็นลักษณะภายในช่องท้องของ
มนุษย์ หุ่นจ�ำลองศีรษะผ่าซีก แสดงรายละเอียดภายใน เช่น สมอง โพรงจมูก ช่องปากและล�ำคอ เป็นต้น
5) หุ่นจ�ำลองแบบเคล่ือนไหวท�ำงานได้ (Working models) หุ่นจ�ำลองแบบนี้ แสดงให้
เห็นส่วนท่ีเคล่ือนไหวการท�ำงานของอวัยวะหรือระบบอวัยวะ หุ่นจ�ำลองแบบน้ีเป็นประโยชน์ในการสาธิต
การท�ำงานหรือหน้าที่ของสิ่งของนั้น ๆ เช่น หุ่นจ�ำลองปอด หุ่นจ�ำลองหัวใจ เป็นต้น
6) หุ่นจ�ำลองแบบแยกสว่ น (Build up models) หุ่นจ�ำลองแบบน้ีแสดงให้เห็นส่วนหนึ่ง
หรือท้ังหมดของสิ่งน้ันว่าภายในส่ิงนั้นประกอบด้วยส่ิงย่อย ๆ ใดบ้าง สามารถถอดออกเป็นส่วน ๆ และ
ประกอบกันได้ หุ่นจ�ำลองแบบนี้จะช่วยให้เข้าใจถึงหน้าท่ีและความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น
- หนุ่ จ�ำลองอวยั วะมนษุ ย์คร่ึงตวั แบบถอดประกอบได้ เป็นสือ่ การเรียนการสอน
เบอื้ งตน้ ของอวยั วะของมนษุ ย์ สามารถมองเหน็ อวยั วะภายในและถอดออกมาศกึ ษารายละเอยี ดได้ เชน่ ซโ่ี ครง
ปอด หัวใจ เสน้ เลือดใหญ่ทอี่ อกจากหัวใจ ตบั ลำ� ไส้ ส่วนของศรี ษะ กะโหลก และสมอง เปน็ ต้น