Page 21 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 21

สื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนชีววิทยา 2-11

                 ภาพที่ 2.2 ตวั อยา่ งหุ่นจำ� ลองอวยั วะมนษุ ยค์ รงึ่ ตวั แบบถอดประกอบได้

ทมี่ า: 	 วันเฉลิม เปียสี. (2559). โรงเรียนแสงทองวิทยา จังหวัดสงขลา.

            2.1.2 	ตวั อยา่ งหนุ่ จำ� ลองทใ่ี ชใ้ นการนำ� เสนอแนวคดิ ทางชวี วทิ ยา หุ่นจ�ำลอง/แบบจ�ำลองมักใช้
ในการน�ำเสนอแนวคิดทางชีววิทยา โดยสามารถใช้ในการน�ำเสนอแนวคิดทางชีววิทยาได้ต้ังแต่ระดับโมเลกุล
เซลล์ จนถึงอวัยวะโครงสร้างของส่ิงที่ชีวิต เช่น ดีเอ็นเอ (DNA) ระดับเซลล์ เช่น เซลล์พืช เซลล์สัตว์ การ
แบ่งเซลล์ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว วงจรชีวิต โครงสร้างกระดูก อวัยวะ แสดงการท�ำงานของอวัยวะและระบบ
อวัยวะ เพื่อให้ผู้เรียนเห็นต�ำแหน่งของส่วนต่าง ๆ ที่หุ่นจ�ำลองน�ำเสนอเป็น 3 มิติ อย่างชัดเจน ดังตัวอย่าง
ต่อไปน้ี

                1) 	แบบจ�ำลองที่ใช้ในการนำ� เสนอแนวคดิ ระดบั โมเลกุล เช่น
                     - 	 แบบจ�ำลอง DNA แสดงโครงสร้างของดีเอ็นเอ (DNA) ผู้เรียนสามารถต่อ

ดีเอ็นเอ (DNA) ระหวา่ ง เบส A กับ เบส T และเบส C กบั เบส G (ดังภาพที่ 2.3 ข)
                2) 	หุ่นจ�ำลอง/แบบจำ� ลองท่ใี ช้ในการนำ� เสนอแนวคดิ ระดับเซลล์ เช่น
                     (1) 	หุ่นจ�ำลองเซลล์พืช แสดงรูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์พืช โครงสร้าง

ภายในของเซลล์พชื เช่น ผนังเซลล์ คลอโรพลาสต์ กอลไจบอด้ี นวิ เคลยี ส เป็นต้น
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26