Page 50 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 50

13-40

            2) 	ก�ำหนดสิ่งที่ต้องการวัด ส่ิงที่ต้องการวัด คือ ทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทาง
วิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะการวัด 3) ทักษะการใช้ตัวเลข 4) ทักษะ
การจ�ำแนกประเภท 5) ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 6) ทักษะการจัด
กระท�ำและสอ่ื ความหมายของขอ้ มูล 7) ทักษะการพยากรณ์ 8) ทกั ษะการลงความคิดเห็นจากข้อมลู 9) ทกั ษะ
การต้ังสมมติฐาน 10) ทักษะการก�ำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ 11) ทักษะการก�ำหนดและควบคุมตัวแปร
12) ทักษะการทดลอง และ 13) ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

            3) 	การก�ำหนดลักษณะของเครื่องมือ ในข้ันตอนน้ีเป็นการเลือกเคร่ืองมือวัดทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้เหมาะสมกับนักเรียน เคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการมีหลายประเภท เช่น
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ แบบทดสอบแบบเขียนตอบ หรือแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบประเมินทักษะ
ปฏิบัติ เป็นต้น

            4) 	จัดท�ำแผนผังการสร้างเครื่องมือ เป็นการวางแผนการสร้างเครื่องมือวัดโดยจัดเตรียม
ตารางแผนผังการสร้างแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์

            5) 	การจัดท�ำเครื่องมือฉบับร่าง ในขั้นตอนน้ีเป็นการเขียนหรือสร้างข้อค�ำถามตามแผนผัง
การสร้างเครื่องมือที่ได้จัดท�ำไว้แล้ว

            6) 	การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือตรวจสอบคุณภาพรายข้อในด้านยากและอ�ำนาจจ�ำแนก
ตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือทั้งฉบับในด้านความตรงและความเท่ียง

            7) 	การจัดท�ำเครื่องมือฉบับสมบูรณ์
       5. 	การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นรายข้อและท้ังฉบับ

            5.1 	การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
เป็นรายข้อพิจารณาจากความยากและอ�ำนาจจ�ำแนก

            5.2 	การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
ท้ังฉบับ พิจารณาจากความตรงและความเที่ยง

หลงั เรยี น

       1. 	เครอื่ งมอื วดั ทกั ษะกระบวนการและการสบื เสาะทางวทิ ยาศาสตรน์ นั้ เครอ่ื งมอื วดั มหี ลายประเภท
ได้แก่

            1) 	แบบบันทึกข้อมูล เป็นเครื่องมือที่ใช้บันทึกพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ
นักเรียนที่เกิดข้ึนในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เช่น บันทึกการทดลอง

            2) 	แบบสังเกตการสังเกตต้องเป็นการเฝ้าดูอย่างมีระบบระเบียบ มีการจดบันทึกข้อมูลอย่าง
ถูกต้องแม่นย�ำ ดังน้ัน การสังเกตมีองค์ประกอบท่ีส�ำคัญ 3 ส่วน คือ ส่ิงท่ีสังเกต ตัวผู้สังเกต และการบันทึก
การสังเกต
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54