Page 14 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 14
6-4 พืน้ ฐานสงั คมและวัฒนธรรมเขมร
ตอนที่ 6.1
ภาษากบั สังคมเขมร
โปรดอา่ นหวั เรอ่ื ง แนวคิด และวัตถปุ ระสงค์ของตอนท่ี 6.1 แลว้ จงึ ศกึ ษารายละเอยี ดตอ่ ไป
หัวเรื่อง
6.1.1 ภาษาเขมรกบั ความแตกตา่ งของบคุ คล
6.1.2 ภาษาถน่ิ เขมร
6.1.3 ระดับของภาษาเขมร
แนวคดิ
1. ปัจจัยทางสังคมของแต่ละบุคคลทาให้เกิดความหลากหลายในภาษาเขมร ท้ังด้าน
เสียง ความหมาย และรูปประโยค โดยมีผลมาจากปัจจัยด้านเพศ อายุ การศึกษา
วชิ าชีพ ชาติพนั ธ์ุและชนช้ันทางสงั คม เป็นต้น
2. ถ่ินท่อี ยู่อาศัยเป็นปจั จัยให้เกิดภาษาย่อยในภาษาเขมร นอกเหนอื จากภาษามาตรฐาน
ภาษาถ่ินในประเทศกัมพชู าอาจแบ่งออกเป็น 3 ภาษา ไดแ้ ก่ ภาษาเขมรถน่ิ พนมเปญ
ภาษาเขมรถน่ิ กมั พูชาตอนบน และภาษาเขมรถิน่ กัมพชู าตอนใต้
3. การใช้ภาษาเขมรตามสถานการณ์ต่างๆ ทาให้เกิดระดับภาษา จาแนกเป็นภาษา
ทางการ ภาษากึง่ ทางการ และภาษาไม่เปน็ ทางการ
วตั ถุประสงค์
เม่ือศกึ ษาตอนท่ี 6.1 จบแล้ว นกั ศกึ ษาสามารถ
1. อธิบายเรื่องภาษาเขมรกับความแตกตา่ งของบุคคลได้
2. อธิบายเร่อื งภาษาถ่ินเขมรได้
3. อธบิ ายเรอ่ื งระดับของภาษาเขมรได้