Page 17 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 17
ภาษา 6-7
ตัวอย่างที่ 2 ต่างกันที่ประธานและกรรมของประโยควางสลับตาแหน่งกัน ในลักษณะประธาน
เปน็ ผู้กระทากรยิ าตอ่ กรรม หรือกรรมถูกประธานกระทา
2. ปัจจยั ทางสังคมของบุคคลทสี่ ่งอทิ ธพิ ลต่อภาษา
ความหลากหลายของภาษาเขมรท่ีได้กล่าวมาในหัวข้อที่แล้วมักมีปัจจัย ทางสังคมเข้ามา
เกี่ยวข้องด้วย โดยเฉพาะบุคคลผู้ใช้ภาษา ผู้พูดที่มีสถานะทางสังคมต่างกัน จะใช้ภาษาต่างกันไปด้วย
ซึง่ อาจแปรผนั ไปตามเพศ อายุ การศึกษา ชาติพนั ธ์ุ ชนชั้นทางสงั คม เป็นต้น ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้
2.1 ปัจจยั ด้านเพศ ในสงั คมเขมรยงั คงใช้ภาษาในการจาแนกเพศชายและหญิงออกอยา่ งชัดเจน
สังเกตได้จากคาสรรพนามที่ใช้เรียกบุคคล มักจะมีคาระบุเพศไว้เสมอ เช่น bgRbús /บอง โปร๊ะฮ/
“พี่ชาย” bgRsI /บอง ซเร็ย/ “พี่สาว” elak /โล้ก/ “คุณผู้ชาย” elakRsI /โล้ก ซเร็ย/ “คุณผู้หญิง”
elakRKÚ /โล้ก กรู/ “ครูผู้ชาย” GñkRKÚ /เนียะก์ กรู/ “ครูผู้หญิง” ฯลฯ โดยท่ีผู้ชายมักระบุคาว่า Rbús /
โปร๊ะฮ/ หรือ elak /โล้ก/ ส่วนผู้หญิงมักระบุคาวา่ RsI /ซเร็ย/ หรือ Gñk /เนียะก์/ ส่วนคาลงทา้ ย ผู้ชาย
จะพูดว่า )aT /บา๊ ต/ “ครบั ” ผหู้ ญงิ จะพูดว่า cas /จา๊ ฮ/ “คะ่ ”
นอกจากเพศจะมีผลต่อการใช้ภาษาแล้ว ในทางกลับกัน ภาษาก็สะท้อนบทบาททางสังคมด้วย
เช่นกัน ภาษาเขมรเป็นหนึ่งในภาษาท่แี สดงออกถึงสังคมสตรีเป็นใหญ่ สอดคล้องตามหลักฐานประเภท
ตานานที่เราทราบกันว่า บรรพบุรุษของชาวเขมรคือราชินีพื้นเมืองท่ีอภิเษกกับพราหมณ์จากอินเดีย
ตัวอย่างคาศัพท์ที่อาจแสดงถึงการให้ความสาคัญกบั ผู้หญิงในสังคมเขมรสะท้อนผ่านคาศัพทภ์ าษาเขมร
หลายคา เช่นคาว่า emTB½ /เม ต็วป/ “แม่ทัพ” emXuM /เม คุม/ “กานัน” eméd /เม ดัย/ “หัวแม่มือ”
emeron /เม เรียน/ “บทเรียน” ฯลฯ ทุกคาล้วนแต่ประกอบด้วยคาว่า em /เม/ ซ่ึงโดยทั่วไปแปลว่า แม่
ใช้ประกอบคาศัพท์เช่น emman; /เม ม็วน/ “แม่ไก่” emeKa /เม โก/ “แม่วัว” แต่อีกนัยหนึ่งก็สามารถ
แปลวา่ หัวหนา้ ไดเ้ ชน่ กัน
2.2 ปัจจยั ด้านอายุ อายเุ ป็นปัจจยั หนึง่ ที่มีผลต่อการใชภ้ าษาดว้ ยเช่นกัน ไม่ว่าจะเปน็ ผลมาจาก
สรีระของอวัยวะที่ใช้ในการออกเสียงแตกต่างกัน เช่นเด็กหรือผู้สูงอายุอาจจะออกเสียงคาควบกล้าหรือ
เสียงพยัญชนะที่ใช้ฟันออกเสียง เช่น /-ต/ /-ฟ/ ไม่ชัด หรือเด็กบางคนออกเสียงสระผสมไม่ได้จึง
ออกเป็นเสียงสระเดยี่ ว เชน่ คาวา่ Ekv /-แกว/ “แก้ว” ตอ้ งออกเสยี งสระผสมระหว่าง อะ กับ เอะ
// แต่เด็กมกั ออกเสยี งเปน็ เสยี งสระ /-เอ/ จึงออกเปน็ /-เกว/
นอกจากด้านกายภาพแลว้ ประสบการณ์กเ็ ปน็ สิ่งท่ีทาให้การใชภ้ าษาต่างกนั ไปดว้ ย เช่น ผู้สูง-
อายุมักเรียกเครื่องบินว่า k)a:lehaH (เรือบิน) /กะ ปัล เฮาะฮ/ มากกว่า yneþ haH /ย็วน เฮาะฮ/ เรียก