Page 18 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 18

6-8 พ้นื ฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร

รถไฟว่า reTHePgøI (เกวียนไฟ) /โร เต๊ะฮ เพลิง/ มากกวา่ rfePIgø /ร็วต เพลิง/ เป็นต้น เน่ืองจากในสมัย

ก่อนนิยมเรียกแตกต่างจากปัจจุบัน และยังสังเกตได้อีกว่า ผู้สูงอายุท่ีเกิดในช่วงกัมพูชาอยู่ภายใต้การ

ปกครองของฝร่ังเศสมกั จะใชค้ าทับศพั ทภ์ าษาฝรง่ั เศสในชวี ติ ประจาวนั เชน่ เรียกวิทยวุ า่ r:adüÚ ตามสาเนยี ง
ฝร่ังเศสว่า radio /ราต ยู/ ต่างจากคนทั่วไปในปจั จุบนั ทน่ี ิยมเรียกว่า viTüú /วึต ทยุ/ นอกจากน้ี ผู้พูดท่ีมี

เพศตา่ งกนั ระดับความสภุ าพของภาษากอ็ าจแตกตา่ งกันไปด้วย
       2.3 ปัจจยั ด้านการศึกษาและวชิ าชีพ การศึกษาเป็นปัจจัยทส่ี าคัญในการแยกภาษามาตรฐานกบั

ภาษาปากได้อย่างชัดเจน เราอาจสังเกตการออกเสียงภาษาเขมรมาตรฐานได้จากการรายงานข่าวหรือ
การให้สัมภาษณ์ของเจ้าหน้าที่รัฐหรือนักวิชาการด้านต่างๆ คาศัพท์ส่วนใหญ่ที่ใช้จะคงเสียงพยัญชนะ

เสียงสระ เสียงควบกล้าได้อย่างครบถ้วนตามรูปเขียน ไม่มีการกร่อนเสียงให้สั้นลง เช่นคาว่า R)aMBIr

“เจด็ ” ภาษามาตรฐานจะออกเสียงตามรปู เขียนว่า /ปรัม ปี/ ไม่ออกเสยี งเป็น /ปรัม ปึล/ ตามทค่ี นท่วั ไป
นิยมพูด นอกจากนี้ วิชาชีพต่างๆ ก็ทาให้เกิดการใช้ศัพทเ์ ฉพาะทีม่ ีรูปศัพทแ์ ตกต่างกนั ไป เช่น ทางด้าน

สังคมและการเมือง มีการใช้คาศัพท์เฉพาะว่า )atku mµ /ปา โตะ กัม/ หมายถึง การประท้วง ในขณะทคี่ น
ทวั่ ไปหรือคนท่มี ใิ ชน่ ักวชิ าการจะใช้คาว่า kartv:a /กา ตอ วา/ ในความหมายเดียวกนั

       2.4 ปัจจัยด้านชาติพันธ์ุ ในสังคมเขมรมิได้มีเฉพาะเชื้อชาติเขมรเท่านั้น แต่ยังมีความหลาก
หลายทางชาตพิ ันธุ์อกี ดว้ ย เนอ่ื งจากชนชาตเิ ขมรมกี ารตดิ ต่อสัมพนั ธ์กับชาตติ ่างๆ อย่างยาวนาน ดงั นั้น
ศัพท์ที่ใช้เรียกสิ่งเดียวกันอาจจะมีรูปศัพท์แตกต่างกันไปตามอิทธิพลของภาษาชาติพันธ์ุ เป็นต้นว่า
บริเวณจังหวัดสตึงแตรงของกัมพูชา มีชาติพันธ์ุลาวอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก ดังนั้นช่ือบ้านนามเมือง

บริเวณดังกล่าวจึงมักจะเรียกด้วยคาศัพท์ภาษาลาวหรือสาเนียงลาว เช่น XuMsamXYy ตาบลซามควย มี
ชื่อเรียกมาจากภาษาลาว หมายถึง สามควาย หรือ RsúkfaLabriv:at; อาเภอถาราบริวัต เป็นการออกเสียง

คาวา่ ธาราบรวิ ตั ร ซงึ่ แปลว่า ธารนา้ วน ตามสาเนียงลาวนน่ั เอง
       2.5 ปัจจยั ด้านชนช้ันทางสังคม สังคมเขมรมีการแบ่งชนชั้นหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นการศึกษา

หน้าท่ีการงาน สถานะของครอบครัว และท่ีชัดเจนท่ีสุดในสังคมปัจจุบันคือสถานะทางเศรษฐกิจ อาจ
กล่าวได้ว่าผู้ท่ีมีฐานะร่ารวยจะมีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษามากกว่าผู้ท่ีมีฐานะยากจน ชนชั้น
ทางสังคมจึงสัมพันธ์กับพื้นฐานการศึกษา ผู้ท่ีมีฐานะร่ารวยและได้รับการศึกษาจึงมักใช้ภาษาที่รักษา
ความเป็นมาตรฐานได้มากกวา่ ดงั ที่ได้กล่าวถงึ ในเรือ่ งปัจจัยดา้ นการศึกษาไปแล้ว

       การแบ่งชนชั้นทางสังคมของเขมรมีลักษณะคล้ายกับสังคมไทยหลายประการ หน่ึงในนั้นคือ
เร่ืองระบบฐานันดรศักดิ์ ทาให้บุคคลท่ีต้องพูดกับผู้มีฐานันดรศักดิ์ต้องใช้คาราชาศัพท์ซึ่งเป็นภาษา
ท่ีตายตัวหรือภาษาท่ีมีแบบแผน เช่นคากริยาต่างๆ จะใช้ศัพท์ท่ีต่างจากบุคคลท่ัวไป เช่นคาว่า กิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23