Page 23 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 23

ภาษา 6-13

           - ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสยี งสระ /-เอ/ แต่ภาษาเขมรถิ่นกัมพูชาตอนบนออกเสียง
สระ /-อี/ เช่น

                    eK “คน เขา” /-เก/ ออกเสียงเปน็ /-กี/

           - ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสียงสระ /-เอยี / แตภ่ าษาเขมรถิน่ กัมพชู าตอนบนออกเสียง
สระ /-อ/ี เช่น

                    Eron “เรยี น” /-เรยี น/ ออกเสยี งเป็น /-รีน/

           - ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสียงสระ / -อัวะ/ แต่ภาษาเขมรถ่ินกัมพูชาตอนบนออก
เสยี งสระ /-เอือะ/ เชน่

                    man; “ไก่” / -ม็วน/ ออกเสยี งเปน็  /-เมือน็ /
                    Ban; “พัน” /-ปว็ น/ ออกเสยี งเปน็  /-เปอื น็ /
                    raM “รา” / -รว็ ม/ ออกเสยี งเป็น   /-เรอื ็ม/

       2.2 ภาษาเขมรถิน่ กมั พชู าตอนบนใช้คาศัพท์ต่างจากภาษาเขมรมาตรฐาน เชน่
           - ภาษาเขมรถน่ิ กมั พูชาตอนบนใชค้ าคนละความหมายกบั ภาษาเขมรมาตรฐาน เช่น

                    Tkw sab /-ตึก ซาป/ “นา้ จืด” ภาษาเขมรถิ่นตอนเหนือใช้ Tkw Ca

/-ตกึ เจีย/  emmI /-เมมิ /  “หวั พืช” ภาษาเขมรถ่ินตอนเหนอื ใช้ cuH /-

โจะฮ/

                    pg /-พอง/ “ด้วย” ภาษาเขมรถิ่นตอนเหนอื ใช้ CuM /-

จุม/
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28