Page 24 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 24
6-14 พ้นื ฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร
- ภาษาเขมรถิ่นกมั พชู าตอนบนยืมคาภาษาไทยไปใช้ เช่น
qµa /-ชมา/ “แมว” ภาษาเขมรถ่นิ ตอนเหนอื ใช้ emov /-
มีว/ Bi)ak /-ปิ บ๊า/ “ยาก” ภาษาเขมรถน่ิ ตอนเหนือใช้ y:ak /-
ยาก/์ kEnøg /-กอ็ น-แลง/ “ท่ี บอ่ น” ภาษาเขมรถน่ิ ตอนเหนือใช้ bn /-
บอน/
3. ภาษาเขมรถิน่ กมั พูชาตอนใต้
ในอดีตอาณาเขตของกัมพูชากินพื้นที่ไปถึงบางส่วนของบริเวณสามเหล่ียมปากแม่น้าโขงซ่ึง
ปัจจุบันอยู่ในอาณาเขตของประเทศเวียดนาม แม้ว่าจะมีการปักปันเขตแดนแยกจากกันแล้ว แต่ผู้คนที่
อาศัยอย่บู รเิ วณดังกลา่ วยังคงใช้ภาษาเขมรซ่ึงมลี ักษณะเฉพาะของท้องถิ่นในการสื่อสาร เนื่องจากบริเวณ
ดังกล่าวเปน็ สว่ นติดต่อกันระหวา่ งกัมพูชาและเวียดนาม ทาให้ลกั ษณะทางภาษาไดร้ ับอิทธิพลจากภาษา
เวียดนามดว้ ยเชน่ กนั ลกั ษณะของภาษาเขมรถน่ิ กมั พชู าตอนใต้สามารถยกตัวอยา่ งได้ดังนี้
3.1 หน่วยเสียงภาษาเขมรถ่นิ กมั พูชาตอนใต้ทีต่ ่างจากภาษาเขมรมาตรฐาน เช่น
- ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสียงพยัญชนะ / หรือ - ช/ แต่ภาษาเขมรถ่ินกัมพูชา
ตอนใต้บางถ่ินออกเสียงเป็น /-ซ/ เน่ืองจากได้รับอิทธิพลจากภาษาเวียดนามท่ีไม่มีเสียงพยัญชนะ
ดังกล่าว เชน่ เสียงพยัญชนะตน้ ควบ /-ปร/ ออกเสียงเปน็ /-ผ/
qañ M “ปี” /-ชนา/ออกเสียงเป็น /-ซนา/
- ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสียงสระ /-เอ/ แต่ภาษาเขมรถิ่นกัมพูชาตอนใต้ออกเสียง
สระ /-เอย์/ เช่น
eT “ไหม” /-เต/ ออกเสยี งเป็น /-เตย์/
- ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสียงสระ /-อา/ แต่ภาษาเขมรถ่ินกัมพูชาตอนใต้ออกเสียง
สระ /-เออ/ เชน่