Page 25 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 25
kþam “ป”ู /-กดาม/ ภาษา 6-15
ออกเสยี งเป็น /-กเดิม/
3.2 ภาษาเขมรถนิ่ กมั พชู าตอนใต้ใช้คาศัพท์ต่างจากภาษาเขมรมาตรฐาน เช่น
Emn /-แมน/ “ใช่” ภาษาเขมรถิน่ ตอนใต้ใช้ KW /-กอื /
Rkma /-กรอ็ มา/ “ผ้าขาวมา้ ” ภาษาเขมรถิน่ ตอนใตใ้ ช้ QñtÜ /-
ชนวต/ RTaM /-ตร็วม/ “อดทน” ภาษาเขมรถิน่ ตอนใตใ้ ช้ ecv /-
เจยว์ /
กจิ กรรม 6.1.2
1. ภาษาพนมเปญมลี ักษณะตา่ งจากภาษามาตรฐานอย่างไร
2. จงยกตวั อยา่ งเสยี งสระท่ภี าษาเขมรถิ่นกมั พูชาตอนบนออกเสียงต่างจากภาษามาตรฐาน
แนวตอบกจิ กรรม 6.1.2
1. ภาษาพนมเปญเปลี่ยนจากเสียง /-ร/ ในภาษามาตรฐานเป็นเสียง /-ฮ/ แล้วปรับระดับ
เสียงให้เป็นเสียงตก-ข้ึนคล้ายเสียงจัตวาในภาษาไทยจนคล้ายกับเสียง /ห/ เช่น ry “ร้อย” /-
โรย/ ออกเสียงเป็น / -โหย/ เสียงพยัญชนะควบเปลี่ยนไป เช่น เสียงพยัญชนะต้นควบ /-ตร/
ออกเสียงเป็น /-ถ/ ฯลฯ เสียงสระเปล่ียนไป เช่น สระ /-อะ/ ออกเสียงเป็น /-เอีย/ คาว่า R)aM
“ห้า” /-ปรัม/ จงึ ออกเสยี งเปน็ /-เผยี ม/ เปน็ ต้น
2. ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสยี งสระ /-อัว/ แต่ภาษาเขมรถ่ินกัมพูชาตอนบนออกเสยี งสระ
/-อู/ ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสียงสระ /-เอ/ และ /-เอีย/ แต่ภาษาเขมรถิ่นกัมพูชาตอนบน
ออกเสียงสระ /-อี/ ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสียงสระ / -อัวะ/ แต่ภาษาเขมรถิ่นกัมพูชาตอนบน
ออกเสียงสระ /-เอือะ/ เปน็ ตน้