Page 26 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 26
6-16 พื้นฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร
เร่ืองท่ี 6.1.3
ระดบั ของภาษาเขมร
ในสังคมเขมรแบ่งชนชั้นทางสังคมออกเปน็ หลายระดบั การใช้ภาษาของบคุ คลแตล่ ะระดบั ชั้นจึง
มีความแตกต่างกันไปด้วย ขึ้นอยู่กับสถานการณ์การใช้ภาษา และอาจกล่าวไดว้ ่าเวลาและสถานทห่ี รือที่
เรียกว่า กาลเทศะ เป็นส่ิงสาคัญที่ทาให้ทราบว่าเราควรใช้ภาษาในระดับใด ภาษาเขมรสามารถจาแนก
ระดับภาษาจากรูปแบบในการใช้ภาษาได้ 3 ระดับใหญ่ๆ ได้แก่ ภาษาทางการ ภาษาก่ึงทางการ และ
ภาษาไม่เปน็ ทางการ ซึ่งมีรายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี
1. ภาษาทางการ
สภาพสังคมเขมรและไทยมีลักษณะคล้ายกันมาก ดังนั้นจึงเป็นข้อดีที่คนไทยจะสามารถเรียนรู้
ระดับการใช้ภาษาของคนเขมรได้ง่าย คนเขมรและคนไทยจะทราบดีว่าเราพึงใช้ภาษาในระดับทางการ
เม่ือต้องพูดในโอกาสสาคัญ กับบุคคลสาคัญหรือบุคคลที่ต้องให้ความเคารพ ด้วยเร่ืองท่ีสาคัญหรือเป็น
เร่ืองที่ไม่ควรผิดพลาด ส่ิงท่ีคนเขมรและคนไทยยึดถือได้แก่ สถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันศาสนา
โดยเฉพาะพทุ ธศาสนา นอกจากนี้ยงั มีเรือ่ งของการเข้าร่วมสังคมในงานท่เี ป็นทางการต่างๆ ดังตัวอย่าง
ตอ่ ไปน้ี
1.1 คาราชาศัพท์ ราชาศัพท์ ภาษาเขมรเรียกว่า raCsBÞ /เรียจ จะ ซัป/ “ราชศพั ท์” เปน็ ศพั ทท์ ี่
ใช้พดู หรอื กลา่ วถึงพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ โดยใช้ถอ้ ยคาที่ต่างไปจากบุคคลทั่วไปและมรี ูปแบบ
ท่ตี ายตัวและแตกตา่ งจากคาสามัญ หากใช้ไมต่ รงตามรปู แบบที่กาหนดไวจ้ ะถือวา่ ผดิ คาราชาศัพท์ภาษา
เขมรมรี ายละเอยี ดดงั นี้
- คาราชาศัพท์ภาษาเขมรมักเกิดจากการสร้างคาด้วยการเติมหน่วยคาว่า RBH- (พฺระ-)
/เปร๊ียะฮ/ “พระ-” RBHraC- (พฺระราช-) /เปร๊ียะฮ เรียจ/ “พระราช-” raC- (ราช-) /เรียจ/ “ราช-”
RTg;- (ทฺรง่-) /ตร็วง/ “ทรง-” RTg;RBH- (ทฺรง่พฺระ-) /ตร็วง เปรี๊ยะฮ/ “ทรงพระ-” ไว้ด้านหน้า หรือ
เติมหน่วยคาว่า -RBHraCRTBü (-พฺระราชทฺรพฺย) /เปรี๊ยะฮ เรียจ จะ ตร็วป/ -พระราชทรัพย์ -BHes¶ay
(-พรฺ ะโสฺงย) /เปรย๊ี ะฮ ซโงย/ -สาหรบั เสวย ไว้ด้านหลงั (BuT§sasnbNÐti ü, 1941: 2) เช่น