Page 22 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 22

6-12 พนื้ ฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร

           rju “ผลกั ” /-รญุ / ออกเสยี งเปน็ / -หญู /

- สระผสมออกเสียงเป็นสระเสียงยาว เชน่

eRcIn “มาก” /-เจริน/ ออกเสียงเป็น / -เฉนิ /

- สระ /-อะ/ ออกเสียงเป็น /-เอีย/ เชน่

   R)aM “ห้า” /-ปรมั / ออกเสยี งเปน็ /-เผยี ม/

2. ภาษาเขมรถน่ิ กมั พชู าตอนบน

       ในแง่ของภูมิศาสตร์ บริเวณตอนบนของประเทศกัมพูชา เช่น จังหวัดบันทายมีชัย อุดรมีชัย
พระวิหาร เสียมเรียบ พระตะบอง ไพลิน ตั้งอยู่ใกล้กับประเทศไทยบริเวณตอนใต้ของภาคตะวันออก-
เฉียงเหนือและภาคตะวันออก เช่น จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี สระแก้ว จันทบุรี
ตราด ผ้พู ูดภาษาเขมรถ่นิ ไทยที่เรียกว่า คแมร์เลอ หรือเขมรสูง มอี ย่เู ป็นจานวนมาก (สวุ ไิ ล เปรมศรีรัตน์
และอรวรรณ ภูอิสระกิจ, 2539: 15; ราชบัณฑิตยสภา, 2556: 8) ด้วยความใกล้ชิดทางดา้ นภูมิศาสตร์จึง
ทาให้ได้รับอิทธิพลทางด้านภาษาใกล้เคียงกับภาษาเขมรถ่ินไทย ท้ังในด้านหน่วยเสียงและคาศัพท์จน
กลายเป็นลกั ษณะเด่นของภาษาเขมรถน่ิ ท่ีใช้บริเวณกมั พชู าตอนบน สามารถยกตัวอย่างไดด้ งั น้ี

       2.1 หน่วยเสียงภาษาเขมรถนิ่ กมั พูชาตอนบนทีต่ ่างจากภาษาเขมรมาตรฐาน เชน่
           - ภาษาเขมรมาตรฐานท่ีไม่ออกเสียง /-ร/ สะกด แต่ภาษาเขมรถ่ินกัมพูชาตอนบนออก

เสยี ง /-ร/ สะกด เชน่

BIr “สอง” /-ป/ี ออกเสียงเปน็       /-ปีร/
edIr “เดิน” /-เดอ/ ออกเสยี งเป็น   /-เดิร/

           - ภาษาเขมรมาตรฐานออกเสียงสระ /-อัว/ แต่ภาษาเขมรถิน่ กมั พชู าตอนบนออกเสียง
สระ /-อ/ู เชน่

mYy “หนง่ึ ” /-มวย/ ออกเสียงเป็น  /-มยู /
rmY “รวม” /-รวม/ ออกเสียงเป็น     /-รมู /
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27