Page 19 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 19

ภาษา 6-9

ราชาศัพท์ใช้ว่า esay /โซย/ “เสวย” ให้ ราชาศัพท์ใช้คาว่า RBHraCTan /เปรี๊ยะฮ เรียจ จะ เตียน/

“พระราชทาน” เปน็ ตน้ และจะต้องมแี บบแผนในการกลา่ วข้ึนตน้ ลงทา้ ยเมอื่ สนทนา เช่น กล่าวขน้ึ ตน้ ว่า

sUmRkabbgTÁM lU fVay /โซว์ม กราป บ็อง กุม ตูล ทวาย/ “ขอกราบบังคมทูลถวาย” แล้วลงท้ายด้วย
esckIþKYrBuKM Yr sUmRTg;RBHemtaþ eR)as /ซจั กเดย็ กวั ปุม กัว โซวม์ ตร็วง เปรย๊ี ะฮ แมต ตา โปร๊ฮ/ “ความ

ควรมิควร ขอทรงพระเมตตาโปรด” ส่วนบุคคลทั่วไปจะใช้คาศัพท์ท่แี ตกต่างออกไปตามระดบั ของภาษา
ซ่ึงอ้างอิงกับสถานะทางสังคมรวมถึงเวลาและสถานท่ีที่ใช้ภาษานั้นด้วย ดังจะได้กล่าวต่อไปในหัวข้อ
ระดับของภาษาเขมร

กจิ กรรม 6.1.1
       1. ความหลากหลายในภาษาเขมรมกี ่ลี กั ษณะ ได้แก่ลักษณะใดบ้าง
       2. ปจั จยั ด้านการศกึ ษาและวิชาชีพทาให้ภาษาแตกต่างกนั อย่างไร

แนวตอบกจิ กรรม 6.1.1
       1. ความหลากหลายในภาษาเขมรมี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) ความหลากหลายของเสียง หมายถึง

เสียงต่างจากมาตรฐานแตค่ วามหมายยังคงเดิม เช่น การออกเสียง ร เปน็ ล การออกเสียงพยญั ชนะควบ
เป็นไม่ควบ ฯลฯ 2) ความหลากหลายของคาศัพท์ เป็นลักษณะท่ีรูปศัพท์มีความแตกต่างกันแต่มี
ความหมายสื่อถึงนามหรือกริยาเดียวกัน เช่นคาว่า กิน มีหลายรูปศัพท์ ฯลฯ และ 3) ความหลากหลาย
ของรูปประโยค เป็นลักษณะของการประกอบคาให้เป็นประโยคทีม่ ีรูปแบบแตกต่างกนั แต่มีความหมาย
เดียวกัน เชน่ มกี ารละคาไวยากรณบ์ างคาในประโยคแตค่ วามหมายคงเดิม ฯลฯ

       2. การศึกษาเป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการแยกภาษามาตรฐานกับภาษาปากได้อย่างชัดเจน โดย
สังเกตการออกเสียงภาษาเขมรมาตรฐานได้จากการรายงานข่าวหรือการให้สัมภาษณ์ของเจ้าหน้าท่ีรัฐ
หรือนักวิชาการด้านต่างๆ คาศัพท์ส่วนใหญ่ที่ใช้จะคงเสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงควบกล้าได้อย่าง
ครบถว้ นตามรูปเขียน ไม่มกี ารกรอ่ นเสยี งใหส้ ้ันลง และวิชาชีพต่างๆ ก็ทาให้เกดิ การใชศ้ พั ทเ์ ฉพาะทม่ี ีรปู
ศัพท์แตกตา่ งกนั ไปด้วย
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24