Page 20 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 20

6-10 พืน้ ฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร

เรื่องท่ี 6.1.2

ภาษาถิน่ เขมร

       ถิ่นท่ีอยู่อาศัยเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้แต่ละภาษาแตกต่างออกไป การท่ีผู้พูดภาษาเขมรถูก
แบ่งย่อยออกจากกันด้วยการแบ่งส่วนการปกครองหรือแยกจากกันด้วยลักษณะภูมิประเทศ ย่อมทาให้
ลักษณะของภาษาเขมรแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค จึงทาให้เกิดภาษาเขมรถิ่นที่มีเสียงหรือคาศัพท์ใน
ภาษาแตกต่างกันออกไป แตโ่ ดยรวมแลว้ ยงั คงสอ่ื สารกันเขา้ ใจในหมู่ผูพ้ ูดภาษาเขมรดว้ ยกนั

       ภาษาเขมรเป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชยี ติก สาขามอญ-เขมร จาแนกย่อยออกเป็น 3 สาขา
ใหญ่ๆ ได้แก่ ภาษาเขมรกลางซ่ึงพูดอยู่ในประเทศกัมพูชา ภาษาเขมรถ่ินไทย และภาษาเขมรถิ่น
เวยี ดนาม อยา่ งไรกด็ ี แม้ภาษาเขมรกลางจะใช้เป็นภาษามาตรฐานหรอื ภาษาราชการ แต่ในพนมเปญก็มี
การพดู ภาษาเขมรด้วยลักษณะทแ่ี ตกต่างจากภาษามาตรฐานอย่างเป็นระบบจนสามารถจัดเปน็ ภาษาถ่ิน
หน่ึงได้ ในการอธิบายเกี่ยวกับภาษาถิ่นเขมรในหัวข้อน้ี จะอธิบายให้เห็นภาพรวมของภาษาเขมรถิ่น

(RKamPasa /เกรียม เพีย ซา/) ในประเทศกมั พูชาได้แก่ ภาษาเขมรถ่ินพนมเปญ ภาษาเขมรถ่ินกัมพชู า

ตอนบน และภาษาเขมรถิน่ กมั พชู าตอนใต้

1. ภาษาเขมรถน่ิ พนมเปญ

       เดิมทีเดียวภาษาเขมรกลางที่ใช้อยู่ในพนมเปญถูกกาหนดให้เป็นภาษามาตรฐานหรือภาษา
ราชการของประเทศกัมพูชา รวมถึงใช้ในการเรียนการสอนภายในและภายนอกประเทศจนถึงปัจจุบัน
อยา่ งไรก็ตาม ปัจจุบนั ภาษาเขมรท่ีใช้พดู กนั ในพนมเปญมีการเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม โดยเฉพาะเสียงที่
เปล่ียนไปจากเดิมอย่างเป็นระบบ แต่ถือเป็นภาษาถ่ินหน่ึงที่ใช้ในพนมเปญ ไม่จัดเป็นภาษามาตรฐานท่ี
ใช้ในราชการ เนื่องจากยังคงใชภ้ าษาเขมรกลางในการเผยแพร่ข้อมูลทางราชการ ข่าว หรืองานวิชาการ
เช่นเดมิ

       การศึกษาพบว่า เสียงพยัญชนะ /-ร/ เปลี่ยนเป็นเสียง /-ฮ/ ทาให้มีผลต่อการออกเสียง
พยัญชนะต้นเดี่ยว พยัญชนะต้นควบ สระ และระดับเสียง (Naraset Pisitpanporn, 1995: 105-113)
สามารถยกตวั อยา่ งปรากฏการณ์ของภาษาเขมรถนิ่ พนมเปญไดด้ ังนี้

       1.1 เสียงพยัญชนะต้น /-ร/ เปล่ียนเป็ นเสียง /-ฮ/ แล้วเปลี่ยนระดับเสียงต่า-ขึน้ คล้ายเสียง /ห/
เชน่
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25