Page 15 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 15

ภาษา 6-5

เร่ืองที่ 6.1.1
ภาษาเขมรกบั ความแตกต่างของบุคคล

       การที่เรากาหนดให้คนกลุ่มใดๆ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป มักกาหนดเรียกจากการทค่ี นกล่มุ น้ัน
ใช้ภาษาใดในการพดู การที่เราเรยี ก คนเขมร กด็ ว้ ยเพราะว่าคนกลุ่มดงั กลา่ วใช้ภาษาเขมรเปน็ เคร่ืองมือ
ในการสอื่ สารระหว่างบุคคลในสงั คม ในอีกแง่หนึ่ง การพิจารณาความหมายของภาษา เพ่ือทาความเข้าใจ
ข้อเท็จจริงรวมถึงวัตถุประสงค์ในการสื่อสาร ก็จาเป็นต้องพิจารณาจากบริบททางสังคมประกอบด้วย
เชน่ กัน ดงั นนั้ ภาษาจงึ มีความสมั พันธก์ ับสังคมอย่างแยกกันไมไ่ ด้

       เม่อื ศึกษาพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมของเขมร ในเร่อื งของประวัติศาสตร์ ความเชอ่ื ศลิ ปะ
และภูมิปัญญา เปรียบเทยี บกับบรบิ ททางสังคมและวัฒนธรรมของไทย จะพบวา่ มีความใกล้เคียงกันมาก
ในเร่ืองของภาษาก็เช่นกนั เราสามารถทาความเข้าใจการใชภ้ าษาในสงั คมและวัฒนธรรมเขมรไดง้ า่ ยข้นึ
หากเปรียบเทยี บกับบริบทการใช้ภาษาไทยในสังคมและวัฒนธรรมไทยไปด้วย

1. ความหลากหลายในภาษาเขมร

       ในสังคมหน่ึงๆ ย่อมมีความหลากหลายของบุคคล ความแตกต่างในสังคมเขมร ไม่ว่าจะเป็น
สถานภาพทางสังคมหรือสถานการณใ์ นการใชภ้ าษาตามวตั ถุประสงค์ต่างๆ จึงเป็นตัวแปรที่ทาใหภ้ าษา
เขมรมีลักษณะท่ีหลากหลายหรือแตกย่อยออกไปในภาษาเขมรเอง ลักษณะท่ีรูปภาษามีความแตกต่าง
ไปจากรูปปกติแต่ยังถือว่าเป็นรูปย่อยของตัวแปรภาษาเดียวกัน นักภาษาศาสตร์เรียกว่า การแปร
(variation) (สานักงานราชบัณฑิตยสภา, 2560: 464) อาจจาแนกความหลากหลายของภาษาเขมร
ออกเป็น 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ ความหลากหลายของเสยี ง ความหลากหลายของคาศัพท์ และความหลากหลาย
ของรูปประโยค

       1.1 ความหลากหลายของเสียง เป็นลักษณะท่ีเสยี งในภาษาแปรเปล่ียนไปจากเสียงปกตทิ ี่คนใน
สังคมส่วนใหญ่ใช้เพ่ือการส่ือสาร หรือต่างจากเสียงมาตรฐานในภาษา แต่ไม่ถือว่าผิด เน่ืองจากยัง
สามารถใช้ในการสือ่ สารได้เข้าใจตามความหมายเดิม

       ตัวอย่างเช่น การออกเสียงจากกระดกลิ้นเป็นไม่กระดกล้ินในภาษาเขมร จากเสียง /-ร/ เป็น

เสียง /-ล/ เช่นคาว่า eron /-เรียน/ ออกเสียงเป็น /-เลียน/ แม้จะออกเสียงต่างออกไปและซา้
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20