Page 56 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 56
6-46 พนื้ ฐานสงั คมและวัฒนธรรมเขมร
เป็นภาษาคนละตระกูลกับภาษาเขมร เน่ืองจากภาษาจามจัดอยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียนหรือภาษาหมู่
เกาะแต่ก็ปรากฏร่องรอยภาษาจามในภาษาเขมรอยู่บ้าง เช่นคาว่า bbr /บอ บอ/ “ข้าวต้ม” คานี้น่าจะ
มาจากภาษาจามหรือกลุ่มภาษามลายูที่แปลว่า โจ๊กหรือข้าวต้ม หรือคาว่า kMBg; /ก็อม ป็วง/ “ท่าเรือ”
สันนิษฐานว่ามาจากคาท่แี ปลวา่ หมบู่ า้ นหรอื ละแวก เปน็ ต้น
5.3 ภาษามอญ เป็นภาษาหน่ึงในกลุ่มภาษามอญ-เขมรที่มีความใกล้เคียงกับภาษาเขมรเป็น
อย่างมาก เน่ืองจากภาษาทั้งสองเป็นภาษาเก่าแก่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพ้ืนทวี ภาษา
มอญและภาษาเขมรส่วนใหญ่ออกเสียงใกล้เคยี งกัน เช่นจานวนนับ หน่ึง สอง สาม ออกเสยี งวา่ /มัว บา
ปอย/ คล้ายกับ /มวย ปี เบ็ย/ คาศัพท์ท่ีสันนิษฐานว่ามาจากภาษามอญตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น sig /
เซิง/ แปลวา่ สงิ หากใชก้ บั พระสงฆ์แปลวา่ “จาวัด” ฯลฯ
5.4 ภาษาอาหรับ คายืมส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับศาสนาอิสลาม ตัวอย่างคายืมภาษาอาหรับที่
รู้จักกันทั่วไป เช่น sl‘u tg; /ซุล ต็อง/ “สุลต่าน” GmuI :am /อี มาม/ “อิหม่าม” r:am:adan /รา มา ดาน/
“รอมฎอน” haLal /ฮา ลาล/ “ฮาลาล” ฯลฯ
กจิ กรรม 6.2.3
1. คายมื บาลกี บั คายืมสันสกฤตมคี วามแตกตา่ งกนั อย่างไร
2. การยมื ภาษาตะวันตกแบง่ ออกเปน็ กีช่ ว่ ง แตล่ ะช่วงมีลักษณะการยืมคาอย่างไร
แนวตอบกจิ กรรม 6.2.3
1. คายืมภาษาบาลีมักเกี่ยวข้องกับเร่ืองราวในพุทธศาสนาแบบเถรวาท ส่วนคายืมสันสกฤต
มักเป็นศัพท์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับเรื่องราวของเทพเจา้ ในศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู และพุทธศาสนาแบบมหายาน
คายืมภาษาบาลีมักจะมีตัวสะกด-ตัวตามตรงตามวรรค แต่คายืมภาษาสันสฤตจะมีตัวสะกดตัวตามไม่ตรง
ตามวรรค
2. ช่วงเวลาของการยืมภาษาตะวันตกมาใช้ในภาษาเขมรจึงแบ่งเป็น 2 ช่วงใหญ่ๆ ได้แก่ ช่วง
แรก ได้รับอิทธิพลภาษาฝรั่งเศส คาศัพท์ท่ียืมมาจะเป็นคาที่ทับศัพท์ดว้ ยสาเนียงฝร่ังเศส ส่วนใหญ่เป็น
คาศัพท์เก่ียวกับเคร่ืองใช้ เทคโนโลยี และเคร่ืองจักรที่มีมานานแล้ว และช่วงที่ 2 ได้รับอิทธิพล
ภาษาอังกฤษ คาศพั ทท์ ี่ยืมมาสว่ นใหญเ่ ป็นคาศพั ท์เกีย่ วกบั เทคโนโลยี อินเทอรเ์ นต็