Page 51 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 51

ภาษา 6-41

เรื่องที่ 6.2.3
อทิ ธิพลจากภาษาต่างประเทศ

       การศึกษาด้านประวัติศาสตร์ทาให้เราทราบว่า ชนชาติเขมรติดต่อสัมพันธ์กับชนชาติอื่นมา
ยาวนาน เมอ่ื มกี ารตดิ ตอ่ กนั ย่อมมกี ารแลกเปลยี่ นทางวฒั นธรรมไมม่ ากกน็ อ้ ย เชน่ ความเชอ่ื ทางศาสนา
สินค้า หรือเทคโนโลยีต่างๆ หน่ึงในวัฒนธรรมท่ีมีการแลกเปลี่ยนและรับมาในวัฒนธรรมเขมรอย่างเห็น

ได้ชัด และยังคงสังเกตร่องรอยของวัฒนธรรมน้ันได้คือ ภาษา จะสังเกตได้ว่ามีคายืม (Bak;km©I /เปี๊ยก์

ก็อมเจ็ย/) จากภาษาอื่นในภาษาเขมรอย่างมาก ซึ่งคายืมแต่ละภาษาท่ีได้จากการรับวฒั นธรรมต่างชาติ
ต่างมลี กั ษณะเด่นและมีวงศพั ทท์ แ่ี ตกต่างกนั โดยมรี ายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

1. อทิ ธิพลของภาษาบาลสี ันสกฤต

       สาหรับคนไทยท่ีสามารถเทียบตัวอักษรเขมรกับอักษรไทยได้ จะสังเกตเห็นว่ามีหลายคาใน
ภาษาเขมรทเี่ มื่อถา่ ยถอดเป็นอักษรไทยแล้ว เราจะพอทราบความหมายของมันทันที แม้วา่ เราจะยังไมท่ ราบ

ว่าคานั้นออกเสียงอย่างไรก็ตาม ยกตัวอย่างเช่นคาว่า Tukç หากสามารถถ่ายถอดเป็นอักษรไทยได้ว่า

ทุกฺข เราก็คงทราบได้ทันทีว่าหมายถึง ทุกข์ ในภาษาไทย เหตุผลเพราะทงั้ คนไทยและคนเขมรต่างกร็ ับ
คาศัพท์นี้มาจากอินเดียเช่นเดียวกันแต่บันทึกด้วยอักษรของตนเอง แม้กระน้ัน การที่อักษรเขมรและ
อกั ษรไทยสามารถเทียบกันได้กเ็ พราะทัง้ สองต่างก็พฒั นามาจากอักษรของอินเดยี เช่นเดียวกัน

       ภาษาเขมรรับภาษาอินเดียมาใชเ้ ป็นจานวนมาก ส่วนใหญ่เป็นภาษาสันสกฤตและบาลีทีร่ ับเข้า
มาใช้เป็นเวลายาวนาน แรกสุดน่าจะเป็นภาษาสนั สฤตซึ่งใช้มาเปน็ ภาษาหลักในการบันทึกเรื่องราวของ
เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พุทธศาสนาแบบมหายาน และเร่ืองราวของกษัตริย์เขมรลงในศิลา-
จารึกต้ังแต่สมัยก่อนพระนคร วงศัพท์ที่เขมรรับมาในระยะแรกเป็นศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับศาสนา เพราะ

ถือเป็นส่ิงใหม่ท่ียังไม่มีคาในภาษาคาใดใช้เรียกได้ ดังนั้นเราจึงเห็นคาว่า )ab (ปาป) /บ๊าป/ “บาป”
buNü (ปุณฺย) /บน/ “บุญ” KuN (คุณ) /กุน/ “คุณ” eTas (โทส) /โตฮ/ “โทษ” eTvta (เทวตา) /เต วะ
ตา/ “เทวดา” RBahµN_ (พฺราหฺมณ) /เปรียม/ “พราหมณ์” ฯลฯ อยู่ในภาษาเขมรเป็นจานวนมาก ส่วน

ภาษาบาลีจะเข้ามามีบทบาทในกัมพูชาสมัยหลัง ในช่วงท่ีพุทธศาสนาแบบเถรวาทเจริญเร่ิมรุ่งเรืองขึ้น
ต้ังแต่ยุคพระนครตอนปลายลงมา เนื่องจากภาษาบาลีเป็นภาษาหลักในการบันทึกพระไตรปิฎกและ
หลักคาสอนของพระพทุ ธเจ้า
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56