Page 55 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 55
ภาษา 6-45
4. อทิ ธิพลของภาษาตะวนั ตก
ภาษาตะวันตกมีอิทธิพลต่อภาษาเขมรอย่างเข้มข้นในยุคล่าอาณานิคม กัมพูชาตกอยู่ในอาณา
นิคมของฝรั่งเศสเป็นเวลายาวนาน ช่วงเวลาของการยืมภาษาตะวันตกมาใช้ในภาษาเขมรจึงแบ่งเป็น 2
ช่วงใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ ช่วงแรก ไดร้ บั อิทธิพลภาษาฝร่งั เศส และชว่ งที่ 2 ไดร้ บั อิทธิพลภาษาอังกฤษ
ช่วงแรก ได้รับอิทธิพลภาษาฝร่ังเศส คาศัพท์ที่ยืมมาจะเป็นคาท่ีทับศัพท์ด้วยสาเนียงฝร่ังเศส
ส่วนใหญ่เป็นคาศัพท์เกี่ยวกับเคร่ืองใช้ เทคโนโลยี และเคร่ืองจักรที่มีมานานแล้ว ตัวอย่างเช่น kaemr:a
“กล้องถ่ายรูป-caméra” tak;suI “แท็กซ่ี-taxi” m:asunI “เคร่ืองยนต์-machine” kaEst “หนังสือพิมพ์-
cassette” valIs “กระเปา๋ เดินทาง-valise” )a:sr<½ “หนังสือเดนิ ทาง-passeport” ฯลฯ
ช่วงที่ 2 ได้รับอิทธิพลภาษาอังกฤษ คาศัพท์ท่ียืมมาส่วนใหญ่เป็นคาศัพท์เก่ียวกับเทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ต และระบบโซเชียลเน็ตเวิร์กในยุคปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น kBuM üÚT½r “คอมพิวเตอร์-computer”
evbsay “เว็บไซต์-website” RBIn “พร้ินต์-print” GnuI FWNit “อินเทอร์เน็ต-internet” ฯลฯ นอกจากนี้
ยังมีการทับศัพท์ยี่ห้อของผลิตภัณฑ์มาใช้ในภาษาเขมร จนใช้เป็นชื่อเรียกสิ่งของดังกล่าวโดยทั่วไป
ไดแ้ ก่ ปากกายหี่ ้อ Bic เปน็ ปากกาที่นยิ มใชใ้ นกัมพูชายหี่ อ้ แรก ทาให้ตอ่ มาคนเขมรเรยี กปากกาทุกยห่ี ้อ
ติดปากวา่ bc‘í /บจึ / และมีหลายคาทเ่ี ดิมเขมรออกเสียงแบบภาษาฝรั่งเศส แต่ปัจจุบันนยิ มออกเสียงแบบ
ภาษาอังกฤษ เช่นคาว่า Cream “ครีม” แต่เดิมออกเสียงเป็น ERkm /แกรม/ ตามสาเนียงฝรั่งเศส แต่
ปัจจุบนั ออกเสยี งเปน็ RKIm /กรมี / แบบภาษาองั กฤษ
5. อทิ ธพิ ลของภาษาอน่ื ๆ
5.1 ภาษาเวียดนามหรือภาษาญวน เป็นภาษาหนึ่งท่ีอยู่ในตระกูลเดียวกับภาษาเขมร มีความ
สัมพันธ์กับชนชาติเขมรในช่วงที่แผ่อานาจการปกครองเหนือกัมพูชาราวพุทธศตวรรษที่ 24 และมี
อิทธิพลอีกครั้งหนึ่งหลังประเทศท้ังสองเป็นอิสระจากฝรั่งเศส คายืมภาษาเวียดนามส่วนใหญ่เป็นศัพท์
เก่ียวกับการละเลน่ อาหาร ขา้ วของเครอ่ื งใช้ท่ีอาจไดร้ บั อทิ ธพิ ลจนี อกี ต่อหนงึ่ เชน่ คาว่า LúkLak; /โละก์
ละก์/ แปลว่า ลูกเต๋า ซึ่งคาน้ีเองที่ต่อมานามาใช้เรียกชื่ออาหารชนิดหน่ึง ที่มีลักษณะช้ินเน้ือห่ันเป็น
ส่ีเหลี่ยมคล้ายลูกเต๋าผัดกับน้ามันหอย คาว่า ENm /แนม/ แปลว่า แหนม คาว่า Laj; /ลัญ/ หมายถึง
ผ้าแพรชนดิ หนงึ่ เป็นต้น
5.2 ภาษาจาม หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีทาให้เราทราบว่า ชนชาติเขมรติดต่อ
สัมพันธ์กับชนชาติจามปาหรือจามซ่ึงมีที่ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของประเทศเวยี ดนามปัจจุบัน มาตั้งแต่
สมัยก่อนพระนคร และยังคงมีชาวจามอาศัยอยู่บา้ งในกัมพูชาบรเิ วณรอบๆ ต็วนเลสาบ แม้ภาษาจามจะ