Page 54 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 54

6-44 พ้ืนฐานสังคมและวฒั นธรรมเขมร

คาบอกจานวนนับภาษาไทยไปใชต้ ้ังแตห่ ลกั 20 ข้ึนไป เชน่ samsib /ซาม เซปิ / “สามสิบ” Essib /แซ
เซิป/ “สี่สิบ” ... ekAsib /เกา เซิป/ “เก้าสิบ” ry /โรย/ “ร้อย” Ban; /ป็วน/ “พัน” munW /เมิน/ “หม่ืน”
Esn /แซน/ “แสน” lan /เลียน/ “ล้าน” เปน็ ต้น

     นอกจากน้ียังมีศัพท์ท่ีเป็นข้าวของเครื่องใช้ เช่น TuhM U /ตุม โฮว์/ “ตุ้มหู” pahm‘u /พา ฮม/ “ผ้า
ห่ม” Ev:nta /แวน ตา/ “แว่นตา” ฯลฯ โดยบางศัพท์นาไปใช้เป็นราชาศัพท์ในภาษาเขมรด้วย เช่น
xwmxat; /เคิม คัต/ “รัดพระองค์” ยืมจากคาว่า “เข็มขัด” ctu hµay /จต มาย/ “พระราชหัตถเลขา” ยืม
จากคาว่า “จดหมาย” หรือบางศัพท์ยืมไปใช้ในความหมายไม่ดี เช่น PUt /พูต/ “โกหก” ยืมจากคาว่า

“พูด”
       ดังที่ได้อธิบายแล้วว่าความสัมพันธ์ไทย-เขมร อาจแบ่งเป็น 2 ช่วง ดังนั้นจึงมีบางศัพท์มีท่ีมา

จากคาคาเดียวกัน แต่รูปศัพท์และความหมายเปล่ียนไป เช่น คาว่า sMKal; /ซ็อม ก็วล/ “จดจา” คานี้

ไทยยืมภาษาเขมรเข้ามาในระยะแรก คือคาว่า “สาคัญ” ในระยะหลังเขมรยืมคาน้ีกลับไปใช้อีกรูปศัพท์

หน่ึงตามเสียงอ่านและความหมายในภาษาไทยว่า sMxan; /ซ็อม คัน/ เป็นต้น (อ่านเร่ืองการยืมคา

ภาษาไทยเพ่มิ เตมิ ในหน่วยที่ 14 เร่อื งท่ี 14.2.2 ความสมั พันธด์ า้ นภาษา)

3. อทิ ธิพลของภาษาจนี

       ชนชาติจีนก็เป็นชนชาติหนึ่งท่ีมีความสัมพันธ์กบั ชนชาติเขมรมาตั้งแต่สมัยก่อนพระนคร ความ
สมั พนั ธ์ดงั กลา่ วเปน็ ไปในรปู แบบของการคา้ ขายและการทูตเป็นหลกั ผนวกกับสิ่งท่ีเรารบั ร้ไู ด้ในปัจจุบัน
ว่าคนจีนโดยเฉพาะชาวแต้จ๋ิวเข้ามาต้ังรกรากประกอบธุรกิจค้าขายอยู่ในกัมพูชาเป็นจานวนมากโดย
เฉพาะการค้าขายอาหาร ดังนั้นวงศัพท์ภาษาจีนในภาษาเขมรจึงมักเก่ียวข้องกับการค้าขายและอาหาร
เปน็ หลัก และมกั จะเป็นสาเนยี งจีนแตจ้ ิ๋ว กวางตุ้ง ไหหลา ซ่ึงเปน็ ชาวจีนโพน้ ทะเลทางใตเ้ ป็นสว่ นใหญ่

     คาที่เก่ียวกับการค้าขาย เช่น hag “ร้าน” h‘nu “หุ้น” yIeha “ยี่ห้อ” cab;hYy “ร้านโชห่วย”

ฯลฯ

     คาท่ีเก่ียวข้องกับอาหาร เช่น KuyTav “ก๋วยเตี๋ยว” etAh‘U “เต้าหู้” qa “ฉ่า-ผัด” qaéxV
“ปาท่องโก๋” (มาจากคาว่า อ่ิวจาก้วย) “น้าชา” (ไม่ใช้ตามสาเนียงจีนกลางว่า ชา) xat;Na “คะน้า”
éqbv:U “ไชโป๊” KUqay “กยุ ช่าย” ฯลฯ

     ท่ีเก่ียวข้องกับคาเรียกเครือญาติ เช่น ):a “ป๊า-พ่อ” m:a “ม้า-แม่” Ec “เจ๊-พี่สาว” h‘a “เฮีย-

พช่ี าย” ฯลฯ
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58