Page 50 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 50
6-40 พ้ืนฐานสังคมและวฒั นธรรมเขมร
สานวนสุภาษิตน้ี หมายถึง คนท่ีอยากได้อยากมีในส่ิงท่ีไม่เหมาะสมกับตนเอง โดยอ้างอิงกับ
นิทานพ้นื บา้ นเขมรทก่ี ลา่ วถงึ พระราชาเสดจ็ ประพาสปา่ จงึ ใหน้ างกานลั เฝ้ามงกุฎไว้ นางกานลั ผู้นน้ั เผลอ
หลบั จงึ สบโอกาสใหล้ ิงแอบมาขโมยมงกุฎไปไว้ในโพรงไม้ เมอื่ หามงกฎุ ไมพ่ บ ทหารจงึ ตามหาโจรที่เอา
มงกุฎไป แต่จับได้นายพรานมาลงโทษจนกล่าวหาไปยังเศรษฐี เศรษฐีกล่าวหาต่อไปยังปุโรหิต แต่ก็ยัง
ไม่พบมงกฎุ ด้วยสตปิ ัญญาของขุนนางผู้หนงึ่ จึงนาท้ังสามไปจาคุก แล้วแอบฟังความจริงจนรวู้ า่ ไมใ่ ช่โจร
ขุนนางจึงทาอุบายนามงกุฎใหม่มาแทนท่ี ครั้งน้ีลิงตัวเดิมออกมาขโมยอีก จึงจับได้พร้อมกับมงกุฎองค์
เกา่ นิทานเรอื่ งน้ีจึงแสดงถึงนิสัยซุกซนลิงที่มักจะไปขโมยสิง่ ของมคี ่าที่ไม่เหมาะสมกับตัวเอง และพลอย
ทาให้ผู้อืน่ เดอื ดร้อนไปดว้ ย เปน็ ทม่ี าของสานวนสภุ าษติ ทไี่ ดก้ ลา่ วไวใ้ นข้างตน้
กจิ กรรม 6.2.2
1. การเลน่ คาผวนภาษาเขมรมจี ดุ เด่นทีต่ ่างจากคาผวนไทยอยา่ งไร
2. สานวน Rc)ac;kcin elonGnþatExµr “บีบคอจีน ล้ินจุกปากเขมร” สะท้อนวัฒนธรรมเขมร
อย่างไร
แนวตอบกจิ กรรม 6.2.2
1. การเล่นคาผวนเขมร (BaküKnøas;kat;) เป็นการออกเสียงสระกลับกนั ระหว่างพยางค์หน้ากบั
พยางค์หลัง โดยที่เสียงพยัญชนะต้นยังเหมือนเดิมเหมือนไทย แต่คาท่ีได้จากการผวนภาษาเขมร
สามารถนามาซ้อนกับคาหลักที่นามาผวน กลายเป็น “คาซ้อนเพ่ือเสียง” ซึ่งภาษาเขมรเรียกว่า บริวาร
ศพั ท์ (brivars½B)Þ ได้
2. สานวนสภุ าษิตนี้ หมายถึง ทาร้ายคนท่มี อี านาจเหนอื ตน ย่อมส่งผลรา้ ยแก่ตัวเอง สะทอ้ นให้
เห็นมุมมองของชาวเขมรว่า คนจีน เปรียบเสมือนคนท่มี อี านาจและมีอิทธพิ ลต่อเขมร โดยเฉพาะในเรือ่ ง
การค้าขาย ที่สง่ ผลตอ่ การดาเนินชวี ิตของคนเขมร