Page 45 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 45
ภาษา 6-35
kaleGIykalenaH RBHnarayN_rugerOgbT£ §I
EsþgesþcpÞMelIETnTI EnbnwgnagnafsIta.
RbTIbCValaeRBagRBat RKb;ElVgR)asaTsuvNÑa
ÉGs;ssñM Tñi §esñha GgÁyú yamdUcsB<dg.
/กาล เอย กาล นฮุ เปรี๊ยะฮ เนยี เรียย รงุ เรอื ง รึต ที
ซแดง ซดจั ผตมุ เลอ แตน ตี แนป นึง เนียง เนียต เซ็ย ดา
ปรอ ตี๊ป จเวยี เลีย โปรง เปรยี๊ ต กรุป๊ ลแวง ปรา ซาต โซะ วัน นา
แอ เอาะ ฮซน็อม ซเนิต ซแน ฮา อ็อง กุย เยยี ม โดจ ซ็อป ดอง/
“เมอื่ เอยเม่อื น้ัน พระนารายณ์ร่งุ เรอื งฤทธี
แสดงเสด็จผทมบนแท่นที่ แนบกับนางนาถสดี า
ประทีปชวาลาพราวพร่าง ทกุ แหลง่ ปราสาทสุวรรณา
ฝา่ ยเหล่าสนมสนิทเสน่หา น่ังยามดุจดังทุกคร้ัง”
2. การเล่นคาพ้อง
การเล่นคาพ้องแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ BaküBhun½y /เป๊ียก์ เปี๊ยะ ฮุ นึย/ “คาพ้องรูป”
และ BaküsUrdUc /เปี๊ยก์ โซว์ โดวจ์ / “คาพอ้ งเสียง” มีรายละเอยี ดดังน้ี
2.1 คาพ้องรูป คือ คาที่สะกดเหมือนกัน เมื่ออกเสียงต่าง ความหมายก็จะต่างกันไปด้วย
การเล่นคาในลักษณะนี้ส่วนใหญ่เล่นเพื่อความสนุกสนาน บางครั้งเกิดจากการแบ่งวรรคให้ผิดก็มี
ตัวอย่างเช่น จังหวัดหน่ึงในประเทศกมั พชู า ช่ือว่า RkecH อ่านว่า /กรอ-เจ๊ะฮ/ มีความหมายว่า กระแจะ
แต่คนเขมรนิยมเล่นภาษาด้วยการแยกคาน้ีออกเป็น 2 พยางค์ พ้องรูปกับคาว่า Rk /กรอ/ แปลว่า
“ยากจน” กบั ecH /เจ๊ะฮ/ แปลว่า “รู้” ดงั นนั้ จงึ หมายความวา่ “ยากท่ีจะรู้” หรอื “ทาไมเ่ ป็น” นนั่ เอง
2.2 คาพ้องเสียง คือ คาทอี่ อกเสยี งเหมือนกนั ตัวสะกดตา่ งกัน และความหมายก็ต่างกันไปด้วย
เช่นตัวอย่างเหตุการณ์การเลน่ คาพอ้ งเสยี ง /กา/ ในภาษาเขมร