Page 43 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 43

ภาษา 6-33

เรื่องท่ี 6.2.2
การเล่นภาษาและถ้อยคาสานวน

       ดังท่ีได้เข้าใจแล้วว่าภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง การใช้ภาษาจึงมีระเบียบแบบแผน มีการ
ถ่ายทอด และพัฒนา การใช้ภาษาในการสื่อสารมีหลายวัตถุประสงค์ด้วยกัน เช่น ภาษาที่ใช้ในทาง
ราชการ ภาษาตามความเช่ือ ใช้ในประเพณีพิธกี รรมต่างๆ ในชีวิตประจาวนั หากจะเจาะจงลงไปเฉพาะ
เพื่อความสนกุ บนั เทงิ กค็ งจะต้องกลา่ วถงึ การเล่นภาษาและถอ้ ยคาสานวนด้วย

       การเลน่ ภาษาและถอ้ ยคาสานวนเก่ยี วขอ้ งกับศลิ ปะในหลายรปู แบบ ทง้ั วธิ ีการใชภ้ าษารวมไปถงึ
ผ้ทู ี่นาภาษาเหลา่ นี้ไปใช้ในทางสนกุ สนานหยอกลอ้ กันในหมู่คนรู้จัก หรอื ใชใ้ นทางบนั เทงิ ปรากฏในศลิ ปะ
การขับร้อง ศิลปะนาฏศิลป์ ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน เป็นต้น การเล่นภาษาและถ้อยคาสานวนใน
วัฒนธรรมเขมรมีหลายรูปแบบดว้ ยกนั ดังจะกลา่ วตอ่ ไปน้ี

1. การเล่นคาคล้องจอง

     การเล่นคาคล้องจอง เรียกวา่ BakücYn /เป๊ยี ก์ จวน/ เนน้ ท่ีเสยี งสมั ผัสคล้ายกนั เน่ืองจากเสียงใน

ภาษาเขมรมีเพียง 2 เสียง คือ เสียงพยัญชนะ กับเสียงสระ ไม่มีเสียงวรรณยุกต์เหมือนในภาษาไทย
ดังนน้ั คาคลอ้ งจองในภาษาเขมรกค็ ือคาท่ีมีเสยี งสระเหมอื นกนั โดยนามาเรยี งต่อกนั เพ่ือใหเ้ กิดความล่ืน
ไหลของเสียงและง่ายต่อการจดจา การเล่นคาคล้องจองมีต้ังแต่ระดับคาสน้ั ๆ เพื่อเป็นคาขวัญหรือคาคม
เชน่

pwkTkw Et      EfsuxPaB

/เพกิ ตึ๊ก แต  แท ซก คะ เพ๊ยี ป/
“ดืม่ นา้ ชา   รักษาสขุ ภาพ”

RsLaj;TaMgGs; esµaHEtmYy

/ซรอ ลญั เตียะง เอาะฮ ซเมาะฮ แต มวย/

“รกั ทง้ั หมด              ซอ่ื สัตยแ์ คค่ นเดียว”
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48