Page 40 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 40
6-30 พ้นื ฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร
นอกจากศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูจะเป็นศาสนาหลักที่ส่งอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
เขมรแลว้ ในปจั จบุ นั ศาสนาอืน่ ๆ กเ็ ขา้ มาผสมผสานและมีอทิ ธิพลต่อวัฒนธรรมเขมรด้วยเช่นกัน เป็นต้น
วา่ ศาสนาครสิ ต์ ส่งอทิ ธพิ ลในเร่ืองวนั สาคัญทางศาสนาคอื วนั ครสิ ตม์ าส ซึ่งคนเขมรเรียกวา่ buNüNUEGl
/บน โนว์ แอล/ เป็นการผสมผสานระหว่างคาว่า bNu ü /บน/ “บุญ เทศกาล” ตามความเชื่อทางศาสนา
พุทธและพราหมณ์ กับคาว่า Noël “คริสต์มาส” ในภาษาฝรั่งเศส โดยในวันดังกล่าวคนเขมรก็จะร่วม
เฉลิมฉลองกับชาวครสิ ต์ไปดว้ ย ส่วนเทศกาลถือศีลกินเจของชาวเขมรเช้อื สายจีน หรือเทศกาลถือศลี อด
ของศาสนาอิสลาม คนเขมรจะเรียกช่วงเวลาท้ังสองว่า BIFIbYs /ปิ ที บั๊วฮ/ ซึ่งแปลตามรูปศัพท์ได้ว่า
“พิธีบวช” อกี นยั หนง่ึ หมายถงึ การถอื บวชหรือถอื ศีล
4. ประเพณเี กยี่ วกบั วถิ ีชีวติ และเทศกาล
ประเพณีเกี่ยวข้องกับคนเขมรต้ังแต่เกิดจนตาย ประเพณีเหล่านี้ต้ังอยู่บนพื้นฐานความเชื่อใน
สิ่งศักด์ิสิทธิ์และศาสนาดังทไี่ ด้กล่าวไปในหัวข้อทแ่ี ลว้ ด้วยความทค่ี นเขมรเช่ือว่า หากปฏิบัติตามขนบ-
ธรรมเนียมประเพณีท่ถี กู ตอ้ งแลว้ จะเกิดความดงี ามและเป็นสิรมิ งคลให้แก่ตวั เอง อิทธพิ ลจากการปฏิบตั ิ
ตามประเพณีต่างๆ สะทอ้ นใหเ้ หน็ จากภาษาที่คนในสงั คมใชเ้ ป็นสื่อด้วย
เริ่มต้นต้ังแต่ประเพณีการเกิด เมื่อแม่อุ้มท้องจะมีข้อปฏิบัติและข้อห้ามต่างๆ มากมาย เช่น
ห้ามไปมาหาสู่กับคนป่วยหรือพูดคุยกับหญิงที่คลอดลูกยาก หากพิจารณาให้เก่ียวข้องกับด้านภาษา
การพดู คยุ หรือไดร้ บั รูค้ วามลาบากและอปุ สรรคในการคลอดก็คงจะเกิดผลกระทบต่อสภาพจติ ใจของแม่ท่ี
ต้งั ครรภไ์ ด้ เน่ืองจากการคลอดบตุ รในสมยั ก่อนหรือแม้แต่สมัยนี้ทม่ี วี ทิ ยาการทางการแพทย์เจริญแลว้ ก็
เป็นเรื่องที่ลาบากและเส่ียงถึงชีวิต ดังนั้นคนเขมรจึงเรียกการคลอดลูกว่า qgø Tenø /ชลอง ต็วน เล/
เปรียบเสมอื น “การขา้ มแม่นา้ ” ตามคาแปลของคาดังกลา่ ว
เมื่อคลอดลูกแล้ว การตั้งช่ือก็เก่ียวข้องกับเรื่องของภาษาและความเช่ือ ในสมัยโบราณคนเขมร
มกั ตัง้ ช่ืองา่ ยๆ เช่น s /ซอ/ “ขาว” exµA /คเมา/ “ดา” ตามลักษณะกายภาพ หรือ Eqá /ชแก/ “หมา” qµa
/ชมา/ “แมว” เป็นเคล็ดไม่ให้ผีมาเอาตัวไป ต่อมาเมื่อได้รับอิทธิพลทางความเช่ือโหราศาสตร์เก่ียวกับ
ตารามหาทกั ษาจงึ ตั้งช่ือตามวันที่ตนเกดิ เชน่ คนเกิดวนั อาทติ ย์ ชอ่ื จะตอ้ งมี G (อ) หรอื สระ วนั จนั ทรม์ ี
k x K X g (ก ข ค ฆ ง) วันอังคารมี c q C Q j (จ ฉ ช ฌ ญ) วันพุธมี d z D Z N (ฎ ฐ ฑ ฒ ณ)
วันเสาร์มี t f T F n (ต ถ ท ธ น) วันพฤหัสบดีมี b p B P m (บ ผ พ ภ ม) วันราหูหรือพุธกลางคืนมี
y r l v (ย ร ล ว) และวนั ศกุ ร์มี s h L (ส ห ฬ) โดยเช่ือว่าช่อื ท่ีถูกโฉลกจะนาสิง่ ทดี่ ีมาให้