Page 37 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 37
ภาษา 6-27
แม้กระทั่งคนทั่วไปเอ่ยถึงพระองค์อย่างลาลองก็จะต้องใช้คาตามธรรมเนียมปฏิบัติมาแต่เดิมเป็นต้นว่า
RBHkruNa /เปร๊ียะฮ กะรุ นา/ “พระกรุณา” RBHGgÁ /เปร๊ียะฮ ออ็ ง/ “พระองค”์ hgøÜ /ลวง/ “หลวง” จะไม่ใช้
สรรพนามเหมือนคนทัว่ ไป
เรอื่ งบรรดาศักดิ์กเ็ ป็นอีกเรอ่ื งหน่ึงท่ีคนไทยผเู้ รียนภาษาเขมรเข้าใจผดิ อย่บู ่อยครั้ง เรามกั ได้ยิน
ชื่อของ semþcGKÁmhaesnabteI teCa h‘un Esn “สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน” นายกรัฐมนตรี
กัมพูชาโดยเรียกสั้นๆ ว่า “สมเด็จฮุน เซน” อยู่เสมอ จนบางคนเข้าใจว่านายกรัฐมนตรีผู้น้ีเป็น
พระราชวงศ์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว คาว่า semþc /ซ็อม ดั๊จ/ “สมเด็จ” น้ี เป็นเพียงบรรดาศักดิ์
ของข้าราชการช้ันสูง ตามด้วยราชทินนามท่ีได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานจากพระมหากษัตริย์ว่า
GKÁmhaesnabtIeteCa “อัครมหาเสนาบดีเดโช” ซ่ึงเป็นช่ือท่ีใช้กับสมุหนายกในอดีต เทียบได้กับ
นายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน เร่ืองน้ีอาจเข้าใจได้ง่ายขึ้นเม่ือเปรียบเทียบกับธรรมเนียมการพระราชทาน
บรรดาศักดข์ิ องไทยในอดีต เช่น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ข้าราชการชัน้ สูง
ในรัชกาลท่ี 5 มีบรรดาศักดิ์เป็นที่ สมเด็จเจ้าพระยา และได้รับพระราชทานราชทนิ นามวา่ บรมมหาศรี-
สรุ ิยวงศ์ ในตาแหนง่ เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ซงึ่ ปัจจุบนั ไทยยกเลกิ การพระราชทานยศเหล่านไี้ ปแล้ว
นอกจากบรรดาศักด์ิสมเด็จแล้ว ยังมีการพระราชทานบรรดาศักด์ิเป็นท่ี »kjua /โอก ญา/
“ออกญา” ให้แก่นักธุรกิจท่ีประสบความสาเร็จหรือบริจาคทรัพย์สินเพื่อสาธารณะประโยชน์เป็นจานวน
มากดว้ ย ในขณะท่ขี า้ ราชการชั้นสงู ส่วนใหญ่มกั มีคานาหนา้ วา่ Ék]tmþ /แอก๊ อต ดม/ “เอกอุดม” เทยี บ
ได้กับคาในภาษาไทยว่า “พณหัวเจ้าท่าน หรือ ฯพณฯ” ส่วนสตรีจะมีคานาหน้าวา่ elakCMTav /โล้ก จุม
เตียว/ เทียบได้กับคาวา่ “คุณหญิง หรือ คุณทา้ ว” ในภาษาไทย
2. การปฏิบตั ติ ่อผู้อาวุโส
ธรรมเนียมการปฏิบัติต่อผู้อาวุโส ก็มีอิทธิพลต่อการใช้ภาษาเขมรเป็นอย่างมาก สังเกตได้จาก
คาเรียกเครือญาติในภาษาเขมรคาว่า bg /บอง/ “พี่” กับ b¥Ún /ปโอว์น/ “น้อง” เป็นคาศัพท์แยกอายุ
ชัดเจน หากมีอายุมากกว่าต้องเรียกว่า bg /บอง/ “พี่” หรือมีอายุน้อยกว่าต้องเรียกว่า b¥Ún /ปโอว์น/
“น้อง” หากต้องการบ่งเพศจงึ ค่อยเติมคาว่า Rbús /โปร๊ะฮ/ “ชาย” หรือ RsI /ซเร็ย/ “หญิง” ต่อท้าย มี
ลักษณะใกล้เคียงกับภาษาไทยซึ่งมีขนบธรรมเนียมการเคารพผู้อาวุโสเช่นเดียวกัน ต่างจากคาใน
ภาษาอังกฤษทใี่ ช้คาว่า brother แปลว่า “พ่ีชายหรือน้องชาย” กับ sister แปลว่า “พ่ีสาวหรือน้องสาว”
สองคานี้แสดงให้เห็นว่า ชาวตะวันตกไม่ได้ยึดถือเรอื่ งอายุเป็นสาคัญ เพียงแต่ใช้คาต่างกันเพื่อแยกเพศ
เทา่ น้ัน