Page 39 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 39
ภาษา 6-29
“ผีตานี” exµactayehag /คโมจ ตาย โฮง/ “ผีตายโหง” exµacRBay /คโมจ เปรียย/ “ผีพราย” exµacGab
/คโมจ อ๊าป/ “ผีกระสือ” ฯลฯ ผีเหล่าน้ีมีลักษณะความเชื่อเดียวกับไทยและบางประเภทก็เรียกชื่อเป็น
ภาษาไทยด้วย อาทิ ผตี ายโหง เปน็ ต้น
ผีบางประเภท ชาวเขมรจะให้ความเคารพเป็นพิเศษ โดยเฉพาะผีที่คุ้มครองป่าเขา แหล่งน้า
ต่างๆ ท่ีสาคัญเช่นผีที่เรียกว่า Gñkta /เนียะก์ ตา/ “นักตา” เป็นผีประเภทหน่ึงมีหน้าท่ีคุ้มครองดูแล
ป่าเขาหรือท้องถิ่นต่างๆ ในเขมร เนียะก์ตา อาจเป็นบรรพบุรษุ ท่ีเคยมีตัวตนอยู่จริงเม่ือล่วงลับไปแลว้ จงึ
กลายเป็นส่ิงศักดิ์สิทธ์ิคุ้มครองลูกหลานในท้องถ่ินต่อไป หากเปรียบเทียบแล้ว เนียะก์ตา เทียบได้กับ
เจ้าพ่อเจ้าแม่ เจ้าป่าเจ้าเขา ในวัฒนธรรมไทย ความเช่ือนี้ส่งผลต่อการใช้ภาษาอย่างหนึ่งคือ เม่ือจะเข้า
ป่า ห้ามพูดลบหลู่ พูดเรื่องผี หรือพูดถึงสัตว์ร้าย เน่ืองจากเกรงว่าเนียะก์ตาหรือผีต่างๆ จะโกรธและ
จะเกดิ เรือ่ งไม่ดีข้ึน
ต่อมาเมื่อเขมรได้รับอิทธิพลทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและพุทธศาสนาจากอินเดีย ความเชื่อ
เกี่ยวกับผแี บบด้ังเดมิ กไ็ ด้ปรับเปล่ียนให้เข้ากบั ความเช่ือทางศาสนามากขึ้น จากการเคารพผปี า่ ผีเขาไปสู่
การเคารพเทพเจา้ ชอ่ื เรยี กสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ติ ่างๆ ถูกเรยี กด้วยภาษาบาลีสนั สกฤต ตัวอย่างทเ่ี ห็นชัดที่สุดคือ
การพัฒนาจากการนับถือผีผู้รักษาทอ้ งถิ่นมาเป็นการบชู าเทวราชาหรือเจ้าแห่งเทวดาท้ังปวง และมีการ
สรา้ งปราสาทหรือศาสนสถานอทุ ิศให้กับเทพเจา้ ต่างๆ มากมาย
การบูชาเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 2 นิกายใหญ่ คือ พระศิวะและพระวิษณุ หรือ
การบูชาพระพุทธเจา้ ในศาสนาพุทธ ส่งผลด้านภาษาในเรอื่ งของการเฉลิมพระนามกษัตริย์ว่าต้องมีนาม
ของเทพเจ้าเข้าไปปรากฏด้วย เช่น พระนามหลังสวรรคตของพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ว่า ปรเมศวร
หมายถึง พระอิศวรหรือพระศิวะ พระนามหลังสวรรคตของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ว่า บรมวิษณุโลก
หมายถึง พระวิษณุ พระนามหลังสวรรคตของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ว่า มหาบรมสุคตบท หมายถึง
พระสุคตหรอื พระพทุ ธเจา้ เปน็ ตน้
เมื่อมีการนับถือศาสนา หลักธรรมและพิธีกรรมก็เผยแผ่สู่คนเขมรด้วย ความเช่ือในเร่ืองบาป
บุญ คุณ โทษ ก็เป็นเรื่องท่ีคนเขมรยึดถือมาจนถึงปัจจุบัน พร้อมๆ กับคาท่ีใช้เรียกสิ่งที่เป็นนามธรรม
เหลา่ นี้ เช่นคาวา่ )ab /บา๊ ป/ “บาป” มาจากภาษาบาลีสันสกฤตวา่ ปาป หมายถงึ ความช่ัว ปจั จุบันหาก
คนเขมรใช้คู่กับกริยา eFVI /ทเวอ/ “ทา” เป็น eFV)I ab /ทเวอ บ๊าป/ แม้จะแปลตามรูปศัพท์ได้ว่า
“ทาบาป ทาชั่ว” แต่สานวนนี้คนเขมรจะใชใ้ นความหมายวา่ “ทาร้าย” สว่ นวันสาคญั ทางศาสนา ศาสนิกชน
จะทาบุญประกอบพิธีกรรม และรักษาศีล ดังน้ันคาว่า วันพระ ในภาษาเขมรจึงเรียกว่า éf¶sIl ซึ่ง
หมายถงึ “วนั ศีล”