Page 41 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 41
ภาษา 6-31
ภาพท่ี 6.3 แผนผงั การต้งั ชื่อเขมรตามตารามหาทกั ษา
ทม่ี า: nut Nara: g, 2003: 6.
การแต่งงานถือเป็นส่ิงสาคัญในสังคมเขมร หากไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องตามจารีตประเพณีจะถูก
ตาหนิติเตียน เป็นที่สังเกตได้ว่า พิธีกรรมต่างๆ ล้วนยึดโยงกับตานานที่ถูกถ่ายทอดโดยใช้ภาษาท้ังส่ิง
ท้ังการแต่งกายของเจ้าบ่าวเจา้ สาวตามตานานพระทองนางนาค ช่ือของเถ้าแก่ทัง้ สองฝ่าย ได้แก่ เจ้ามหา
และเมบา รวมไปถึงสิ่งของมงคลที่ใช้ในงานแต่งงาน เช่น หมากพลูเป็นของสิริมงคลที่แสดงให้เห็น
การเปน็ คู่ครองตามตานานที่คนเขมรเลา่ ว่า หมากและพลูคือสามีภรรยาทเ่ี คยเคียงคูก่ ันในอดีตชาติ เป็นตน้
แมก้ ระทั่งประเพณีทเี่ ก่ยี วกบั การตาย การท่นี ากรวยดอกไม้ใสม่ อื ศพไว้ก็เพราะคนเขมรทราบถงึ
ตานานท่ีเก่ียวโยงกับพุทธศาสนาเป็นอย่างดีว่า เมื่อตายแล้วจะต้องไปบูชาพระธาตุจุฬามณีบนสวรรค์
ชั้นดาวดึงส์ และธงขวัญที่ใช้ในพิธีศพ เหตุที่ทาเป็นรูปจระเข้ก็เพราะมีตานานเล่าว่า จระเข้สองผัวเมีย
ต้องการบวชในพระพุทธศาสนาแต่บวชมิได้ จึงขอใช้หนังของตัวเองทาเป็นธงเพื่อบูชาพระพุทธเจ้าเม่ือ
ตนส้ินชีวิตแลว้
นอกจากประเพณีเก่ียวกับชีวิตแล้ว เทศกาลประเพณีใหญ่ๆ ของกัมพูชาก็ล้วนแต่ยึดโยงกับ
ตานานคาบอกเล่าทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นวันข้ึนปีใหม่หรือวันสงกรานต์ท่ียึดโยงกับตานานธรรมบาลกุมาร
ท้าวกบิลพรหม เทศกาลผชุมบิณฑ์ เก่ียวกับตานานการปล่อยให้วิญญาณกลับสู่มนุษยโลก เทศกาล
แข่งเรอื ลอยประทีป ไหว้พระจนั ทรแ์ ละกรอกข้าวเม่าเก่ยี วข้องท้ังเรอ่ื งราวทางประวตั ิศาสตรเ์ ขมรรบจาม