Page 36 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 36
6-26 พืน้ ฐานสงั คมและวัฒนธรรมเขมร
เรื่องท่ี 6.2.1
ภาษาเขมรกบั ขนบธรรมเนียมประเพณี
นักมานุษยวิทยาและนักวิชาการด้านวัฒนธรรมศึกษาหลายท่าน ให้นิยามคาว่าวัฒนธรรมไว้
สอดคล้องกันว่าหมายถึง ส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้ึนอย่างมีแบบแผน ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ความเชื่อ ศาสนา
ศีลธรรม ปรัชญา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ เทคโนโลยี ฯลฯ แล้วมีการถ่ายทอด และนาไปใช้จน
เจริญงอกงามเป็นบรรทัดฐานให้กับสังคม (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556: 1103; lI Fametg, 1985: 7-8;
E. B. Tylor, 1871: 21)
ภาษา จัดว่าเป็นวัฒนธรรมแขนงหนึ่ง กล่าวคือ ภาษา เป็นส่ิงท่ีคนในสังคมสร้างข้ึนอย่างเป็น
ระบบ มกี ารถา่ ยทอด เรยี นรู้ เพื่อนาไปใชใ้ นการสื่อสาร เม่ือใช้ไประยะหน่ึงก็มีการพฒั นาเปลี่ยนแปลงไป
อย่างต่อเนือ่ ง และมักสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของวฒั นธรรมประเภทอนื่ ๆ
เนื้อหาในเร่ืองน้ีจึงว่าด้วยภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรมด้านต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องขนบ
ธรรมเนียมประเพณี หรือแบบอย่างที่นิยมกันมาในสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณีเขมรมีอิทธิพลต่อ
ภาษาเปน็ อย่างมาก สามารถยกตัวอย่างได้ดังต่อไปน้ี
1. การปฏบิ ัตติ ่อผู้ทมี่ ฐี านันดรและผู้มยี ศศักด์ิ
ขนบธรรมเนยี มการปฏบิ ัติตอ่ ผู้ท่มี ฐี านันดรและผู้มยี ศศักด์ิ ผพู้ ดู จะใช้คาราชาศัพท์ในการสือ่ สาร
ดังท่ีได้กล่าวมาแล้วในเร่ืองระดับของภาษาเขมร สังเกตได้ว่าผู้พูดจะใช้ภาษาท่ีมีลักษณะเฉพาะเจาะจง
ทั้งคาศัพท์และรูปแบบในการใช้ หากใช้ภาษาผิดจากขนบธรรมเนียมท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมาจะถือว่าไม่
ถกู ตอ้ ง
ตัวอย่างเช่นการออกพระนามของพระมหากษัตริย์ ในพระราชพิธีสาคัญจะมีการออกพระนาม
เต็มตามแบบแผนกาหนดว่า RBHkruNa RBH)aTsemþcRBHbrmnaf neratmþ sIhmnu I smanPUmiCatisasna
rktç xtiþya exmrardæra®sþ BuT®§i nÞaFrammhakSRt exmraCna smUehaPas km<Cú ÉkraCrdæbUrNsniþ suPmgÁla
sirvI iblu a exmraRsIBira®sþ RBHecARkúgkmC<ú aFbi tI “พระกรุณา พระบาทสมเดจ็ พระบรมนาถ นโรดม สีหมนุ ี
สมานภูมิชาติศาสนา รักขตขัตติยา เขมรารัฐราษฎร์ พุทธินทราธรามหากษัตริย์ เขมราชนา สมูโหภาส
กัมพุชเอกราชรัฐบูรณสันติ ศุภมังคลา สิรีวิบุลา เขมราศรีพิราษฎร์ พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี” หรือออก
พระนามโดยยอ่ วา่ RBH)aTsemþcRBHbrmnaf neratþm sIhmunI “พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สหี มนุ ี”