Page 32 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 32
6-22 พ้ืนฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร
“สถานเอกอัคราชทูตกัมพูชาประจาราชอาณาจักรไทย ขอเรียนมายังพ่นี ้องชนร่วมชาติ
เขมร รวมทั้งนิสิตนักศึกษา และพี่น้องผู้ใช้แรงงาน ที่กาลังอาศัยอยู่ ศึกษา และทางานอยู่ใน
ประเทศไทยทุกท่าน โปรดทราบว่า เพ่ือยินดีกับโอกาสวันข้ึนปีใหม่เขมร ปี กนุ สัมฤทธิศก พ.ศ.
2563 ท่ีจะมาถึงข้างหน้าน้ี สถานเอกอัครราชทูตกัมพูชาจะจัดงานพบปะสังสรรค์พี่น้องชาวเขมร
ณ สถานเอกอคั รราชทูตกมั พชู าประจาราชอาณาจักรไทย ตามกาหนดการตอ่ ไปนี้”
จากตัวอย่างข้อความที่ยกมา จะเห็นได้วา่ มีการใช้คาศัพทท์ ี่เป็นทางการ แต่ไม่รูปแบบท่ีตายตวั
มีการใชค้ าวา่ “พี่นอ้ งชนรว่ มชาตเิ ขมร” “พ่นี อ้ งผู้ใช้แรงงาน” เพอ่ื ให้ดูมคี วามกันเอง แทนทจ่ี ะใชศ้ พั ทว์ า่
ประชาชน แตย่ ังคงใช้การระบวุ ันเดือนปีแบบจันทรคติตามระเบียบของหนงั สอื ราชการกัมพูชาอยดู่ ้วย
2. ภาษากงึ่ ทางการ
ภาษาก่ึงทางการเป็นภาษาที่มีความสมบูรณ์น้อยกว่าแบบทางการ มีการกร่อนคา หรือละคา
ภาษาในระดับน้ีเป็นภาษาที่ใช้ติดต่องานหรือธุรกิจ การหารือ ประชุมปรึกษา หรือพูดคุยอย่างไม่เป็น
ทางการ เป็นระดับท่ีอยู่กึ่งกลางระหว่างเป็นทางการกับระดับสนิทสนมเป็นกันเอง ไม่เคร่งครัดเกี่ยวกับ
โครงสร้างหรือไวยากรณ์เท่าใดนัก แต่ยังคงความสุภาพและไว้ระยะระหว่างผู้พูด อาจเป็นบทสนทนา
ระหว่างเพื่อน ระหว่างครูกับนักเรียน ระหว่างลูกค้ากับแม่ค้า เป็นต้น ตัวอย่างเช่นบทสนทนาระหว่าง
ลูกคา้ กับพนกั งานขายทีว่ ่า
GtifiCn: GaenHcuHéføtampøakeXasnakmµviFIRbÚm:sU inEmneT?
ลกู ค้า: อันนล้ี ดราคาตามปา้ ยโปรโมชั่นใชไ่ หม
Gñklk;: cas EmnehIy. sMrabm; y:U EdlsnSBM in)Þú an 100 eBj.
พนกั งานขาย: ใชค่ ่ะ สาหรับลกู ค้าประจาทีส่ ะสมแต้มได้ 100 คะแนน
สังเกตได้ว่า ประโยคสนทนาดังกล่าวใช้ภาษากึ่งทางการ มีการใช้คาทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
RbÚms:U in /โปรว์ โมว์ เซิน/ “โปรโมชนั่ ” ใช้ศพั ท์คาว่า m:yU /โมว์ย/ “ลูกค้าประจา” ทใ่ี ช้ในการค้าขาย แต่
ยงั มคี วามสุภาพในการใช้ภาษา