Page 38 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 38

6-28 พนื้ ฐานสังคมและวฒั นธรรมเขมร

     คาว่า G‘¿Rbsú /อม โปร๊ะฮ/ “ลุง” G‘¿RsI /อม ซเร็ย/ “ป้า” กับ «Bukma /เอิว ปุ๊ก เมีย/ หรือ BU /
ปู/ “อาหรือน้าชาย” mþaymIg /มดาย มีง/ “อาหรือน้าสาว” ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งท่ีแสดงถึงการให้

ความสาคัญกับลาดับอาวุโส โดยไม่คานึงว่าญาติผู้นั้นจะเป็นญาติข้างพ่อหรือข้างแม่ ผู้ท่ีมีอายุมากกว่า

พ่อหรือแม่ จะเรียกว่า G‘¿ /อม/ หากต้องการบ่งเพศจึงค่อยเติมคาว่า Rbús /โปร๊ะฮ/ “ชาย” หรือ RsI
/ซเร็ย/ “หญิง” ต่อท้าย ส่วนผู้ท่ีมีอายุน้อยกว่าพ่อหรือแม่ จะเรียกว่า ma /เมีย/ หรือ BU /ปู/ สาหรับ
ผชู้ าย เรยี กว่า mIg /มีง/ สาหรับผหู้ ญงิ โดยบ่งบอกเพศตามความหมายอยแู่ ลว้ แต่หากตอ้ งการระบุเพศ
ให้ชัดลงไปก็สามารถเติมคาว่า «Buk /เอิว ปุ๊ก/ “พ่อ” แสดงถึงเพศชาย mþay /มดาย/ “แม่” แสดงถึง
เพศหญิงนาหน้า ma /เมีย/ หรอื mIg /มงี / ไดต้ ามลาดับ แต่จะไมใ่ ช้คาวา่ «Buk /เอิว ปุ๊ก/ นาหนา้ คาวา่ BU

/ปู/ อีก
       คาเรียกเครือญาติเหล่าน้ี นอกจากจะใช้เรียกบคุ คลที่เป็นเครือญาติกันจริงๆ ทางสายเลือดแลว้

ยังใช้เรียกบุคคลอ่ืนในสังคมด้วย เช่น เรียกผู้สูงอายุท่ัวไปว่า ta /ตา/ “ตา” หรือ yay /เยียย/ “ยาย”
เรียกผู้ท่ีคาดเดาว่ามีอายุมากกว่าพ่อแม่เราว่า G‘¿ /อม/ “ลุงหรือป้า” รวมถึงการท่ีผู้หญิงนิยมเรียกผู้ชาย
ท่ีไม่สนิทสนมและมีอายุมากกว่าว่า BU /ปู/ “อาหรือน้า” เป็นต้น เหล่านี้แสดงให้เห็นว่าคนเขมรมี

ธรรมเนียมการปฏิบัติต่อบุคคลอ่ืนเปรียบเสมือนญาติแท้ๆ ของตัวเอง เช่นเดียวกับไทย ซึ่งต่างจากชาติ
ตะวันตกที่ไม่ใช้คาเรียกเครือญาติเรียกบุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น ใช้คาว่า You “คุณ” เรียกบุคคลซ่ึงเป็น
บรุ ษุ ท่ี 2 ทุกคน ไมว่ ่าจะเปน็ ญาตหิ รือมิใช่ญาติของตวั เองก็ตาม

3. ความเชื่อเร่ืองส่ิงศักด์สิ ิทธ์แิ ละศาสนา

       คนไทยอาจจะคนุ้ เคยกบั สานวนวา่ “ไมเ่ ชอ่ื อยา่ ลบหลู่” แต่อาจจะไม่ทราบว่าคนเขมรก็เชื่อและ

คุ้นเคยกับสานวนว่า ebImni eCO kRuM bmaf /เบอ มึน เจือ กม โอย ปรอ มาต/ “ถ้าไม่เช่ือ อย่าปรามาท”

เช่นเดียวกัน ความเช่ือด้ังเดิมของมนุษย์มักเกิดขึ้นจากความกลัวในส่ิงเหนือธรรมชาติ ความเชื่อของ
คนเขมรก็เช่นเดียวกัน เม่ือธรรมชาติบันดาลให้เกิดภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆ แล้วไม่สามารถอธิบายได้
ดว้ ยความเป็นจริงทางวิทยาศาสตร์ ชาวเขมรกจ็ ะเช่อื ถือว่าอานาจเหลา่ นั้นเป็นอานาจของสิง่ ศกั ดิ์สิทธิ์

       สิ่งศักด์ิสิทธ์ิดั้งเดิมที่คนเขมรนับถือน่าจะไม่ต่างจากคนไทย คือการเกรงกลัวอานาจของสิ่งที่

เรียกว่า ผี ซ่ึงภาษาเขมรเรียกว่า exµac /คโมจ/ หมายถึงผีทั่วๆ ไป แต่คาคานี้ภายหลังถูกยืมเข้ามาใน

ภาษาไทย คือคาว่า โขมด มีความหมายเฉพาะลงไปหมายถึง ช่ือผีชนิดหน่ึงในพวกผีกระสือหรือผีโพง
เหน็ เป็นแสงเรืองวาวในเวลากลางคนื ทาใหห้ ลงผิดนึกวา่ มีคนถอื ไฟหรอื จุดไฟอยู่ขา้ งหน้า พอเข้าไปใกล้

ก็หายไป exµac “ผี” ในวัฒนธรรมเขมรมีหลายหลายชนิด เช่น exµacedImeckCVa /คโมจ เดิม เจย์ก จเวีย/
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43