Page 42 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 42

6-32 พื้นฐานสังคมและวฒั นธรรมเขมร

ที่มกี ารบันทกึ เปน็ ลายลักษณ์ หรือแม้แต่เรื่องราวการบูชาพระจนั ทรต์ ามชาดกที่พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติ
เปน็ กระตา่ ย ดังทไี่ ด้แสดงรายละเอยี ดในหน่วยประเพณีและพธิ กี รรม แสดงให้เหน็ วา่ ชาวเขมรในปจั จุบัน
ยังคงเคร่งครัดและให้ความสาคัญกับตานานรวมท้ังประวัติศาสตร์ท่ีถูกถ่ายทอดผ่านภาษาซึ่งถือเป็น
วฒั นธรรมในรปู แบบหนงึ่

กจิ กรรม 6.2.1
       1. จงเปรยี บเทียบการใชภ้ าษาท่ีเกย่ี วข้องกับระบบอาวุโสของคนเขมรกบั คนตะวันตก

     2. สานวน ebImni eCO kRuM bmaf “ถ้าไมเ่ ชื่อ อยา่ ปรามาท” เกีย่ วข้องกบั ความเช่อื และการใช้ภาษา

อยา่ งไร

แนวตอบกจิ กรรม 6.2.1
       1. ธรรมเนยี มการปฏิบัตติ ่อผู้อาวุโส มีอทิ ธพิ ลตอ่ การใชภ้ าษาเขมรเป็นอยา่ งมาก สงั เกตไดจ้ าก

คาเรียกเครือญาติในภาษาเขมรคาว่า bg /บอง/ “พี่” กับ b¥Ún /ปโอว์น/ “น้อง” เป็นคาศัพท์แยกอายุ
ชัดเจน หากมีอายุมากกว่าต้องเรียกว่า bg /บอง/ “พี่” หรือมีอายุน้อยกว่าต้องเรียกว่า b¥Ún /ปโอว์น/

“น้อง” มีลักษณะใกลเ้ คียงกบั ภาษาไทยซึ่งมีขนบธรรมเนียมการเคารพผู้อาวุโสเชน่ เดียวกนั ต่างจากคา
ในภาษาอังกฤษที่ใช้คาว่า Brother แปลว่า “พี่ชายหรือน้องชาย” กับ Sister แปลว่า “พ่ีสาวหรือ
นอ้ งสาว” สองคานแี้ สดงให้เห็นว่า ชาวตะวันตกไม่ได้ยดึ ถือเรือ่ งอายุเป็นสาคัญ เพยี งแต่ใช้คาต่างกนั เพ่อื
แยกเพศ

       2. สานวนนี้เกี่ยวข้องกับความเชื่อของคนเขมรในเรื่องส่ิงเหนือธรรมชาติ ภูตผี เจ้าป่าเจ้าเขา
และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สะท้อนผ่านชื่อเรียกผีมากมาย ความเช่ือน้ีส่งผลต่อการใช้ภาษาอย่างหน่ึงคือ เมื่อจะ
เข้าป่า ห้ามพูดลบหลู่ พูดเรื่องผี หรือพูดถึงสัตว์รา้ ย เนื่องจากเกรงว่าเนยี ะกต์ าหรอื ผีต่างๆ จะโกรธและ
จะเกดิ เรอื่ งไม่ดีขน้ึ ได้
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47