Page 44 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 44
6-34 พื้นฐานสงั คมและวัฒนธรรมเขมร
ต่อมาคาคล้องจองนามาเรียงต่อกันให้มีความยาวมากขึ้น มีระเบียบแบบแผนมากข้ึน จึงถูก
นาไปใช้ในการร้องราทาเพลง ท่ีเรียกว่า ceRmógRbCaRbiy “เพลงพ้ืนบ้าน” เช่น บทร้องในเพลงระบา
เคาะสาก (ceRmógr)aMeKaHGERg) วา่
sarikaEkveGIy sarikaEkvekIc
bgelam[esIc cg;emIleFµjexµA.
RsIRss;RbehIr RsIRss;RbehIr
Rby½tñeCIgedIr ERkgGERgdMeCIg.
/ซา เระ กา แกว เอย ซา เระ กา แกว เกจิ
บอง โลม โอย เซิจ จอ็ ง เมิล ทมญึ คเมา
ซเรย็ ซเราะฮ ปรอ เฮอ ซเร็ย ซเราะฮ ปรอ เฮอ
ปรอ ยัต เจิง เดอ แกรง ออ็ ง แร ด็อม เจงิ /
“สาริกาแก้วเอย สาลกิ าแก้วเชิด
พ่โี ลมให้ขา อยากดูฟนั ดา
สาวสวยหอมฟงุ้ สาวสวยหอมฟงุ้
ระวังตีนเดิน เกรงสากกระท้งุ ตีน”
เม่ือคาคล้องจองพัฒนาถึงข้ันสุดในสมัยหลังพระนคร (พุทธศตวรรษท่ี 20-24) จึงเกิดเป็นลักษณะ
คาประพันธ์ร้อยกรองที่มีระเบียบแบบแผนมากมายท้ังจานวนคาและสัมผัสคล้องจองในวรรคและสัมผัส
ระหว่างบท เช่น kMNaBü เทียบกับไทยคือ “กาพย์” เช่น BMenal “บทพโนล-กาพย์ฉบัง” kakKti “บท
กากคติ-กาพย์สุรางคนางค์” เป็นต้น โดยได้รับอิทธิพลจากฉันท์ที่แต่งด้วยภาษาบาลีสันสกฤต และ
ต่อมาได้รับอิทธิพลรูปแบบคาประพันธ์ประเภทกลอนจากไทย จึงพัฒนาเป็น Bakü “บทพากย์” เช่น
Bakü7 “กลอน 7” Bakü8 “กลอน 8” เป็นต้น นิยมนามาถ่ายทอดวรรณคดีบทละครต่างๆ ตัวอย่างเช่น
บทละครเรอ่ื งรามเกียรติภ์ าษาเขมรผกู ที่ 75 ตอนหน่ึงว่า