Page 48 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 48
6-38 พื้นฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร
สมั ผัสคลอ้ งจอง นอกจากนยี้ ังตอ้ งมคี วามรู้รอบตวั และทส่ี าคัญคือต้องรูจ้ ักวฒั นธรรมเขมรมากพอสมควร
จึงจะสามารถตอบปรศิ นาคาทายเหลา่ นีไ้ ด้ ตัวอยา่ งปริศนาคาทายเช่น
enApÞHsGuI aharTaMgLay eKeRbIeTAq¶ayeK[suEI dk. etIse¥I K?
“อยูบ่ ้านกนิ อาหารทง้ั หลาย คนใช้ไปไกลเขาใหก้ ินเหล็ก อะไรเอ่ย”
คาตอบคือ esH “มา้ ” เน่อื งจากเกอื กมา้ ทามาจากเหล็ก
nageGIynagnYn nagFMEtxnøÜ EtTabCagesµA. etIs¥eI K?
“นางเอยนางนวล นางใหญ่แต่ตัว แต่เตี้ยกว่าหญ้า อะไรเอย่ ”
คาตอบคอื PñM “ภูเขา”
edImvabn:u ssr skøw val¥bn:u kþarkI. etIse¥I K?
“ตน้ มนั เท่าเสา ใบมนั งามเท่ากระดานก่ีทอผ้า อะไรเอย่ ”
คาตอบคอื edImeck “ตน้ กล้วย” เน่อื งจากกระดานก่ที อผ้ามีลกั ษณะเปน็ แผ่นยาว
esþccay)an ra®sþk¾cay)an. etIse¥I K?
“เจ้าจา่ ยได้ ราษฎรก็จ่ายได้ อะไรเอย่ ”
คาตอบคือ can)ay /จาน บาย/ “จานข้าว” เป็นคาผวนจาก cay)an /จาย บาน/
5. สานวนสุภาษติ
สานวนสุภาษิตเป็นวัฒนธรรมทางภาษาอย่างหนึ่ง เป็นถ้อยคาที่กล่าวข้ึนเป็นคติสอนใจ อาจมี
การยกตัวอย่างหรือเปรียบเทียบกับส่ิงใดส่ิงหน่ึงซึ่งเป็นท่ีรู้จักดีในวัฒนธรรมนั้นๆ สุภาษิตเขมรจึงยึดโยง
กับความเช่ือของคนเขมร ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นความเช่ือทางศาสนา แล้วนาเสนอด้วยถ้อยคาภาษาที่
กระชับ คล้องจอง ให้สามารถจดจานาไปเตอื นใจได้ง่าย
สานวนสุภาษิตเขมรที่ตรงกับสานวนสภุ าษติ ไทย เชน่
sárCitRsemac
“น้าตาลใกล้มด”