Page 52 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 52

6-42 พ้ืนฐานสงั คมและวัฒนธรรมเขมร

       ขอ้ สงั เกตทีส่ ามารถแยกคายืมภาษาบาลีกับคายืมภาษาสันสกฤตได้ เช่น
       - ตัวสะกด-ตัวตาม คายืมภาษาบาลีมักจะมีตัวสะกด-ตัวตามตรงตามวรรค แต่คายืมภาษา

สันสกฤตจะมีตัวสะกดตัวตามไม่ตรงตามวรรค เช่นคาว่า stþ (สตฺต) เป็นคายืมภาษาบาลี ตัวสะกด
ตัวตามตรงตามวรรค ส่วนคาว่า stV (สตฺว) เป็นคายืมภาษาสันสกฤต ทั้งสองอ่านว่า /ซัต/ คาแปลว่า

“สตั ว์”

     - คายืมภาษาบาลีจะใช้ x ข เป็นพยัญชนะต้น แต่คายืมภาษาสันสฤตใช้ kS กฺส ซึ่งมาจาก กษฺ
เปน็ พยญั ชนะตน้ เชน่ คาว่า Extþ (เขตตฺ ) /แคต/ เป็นคายืมภาษาบาลี แปลวา่ “จังหวดั ” สว่ นคาว่า ekSRt

(เกฺสตฺร) /กแซต/ เป็นคายมื ภาษาสนั สกฤต แปลวา่ “เกษตร นาไร่”
       - คายืมภาษาบาลีไมใ่ ช้เครื่องหมายโรบาท แตค่ ายืมภาษาสนั สฤตใช้เคร่ืองหมายโรบาท เพราะ

มาจาก ร เรผะ ในภาษาสันสกฤต เทยี บได้กับ รร หนั ในภาษาไทย เชน่ คาวา่ sKÁ (สคคฺ ) /ซะก/์ เปน็ คา
ยืมภาษาบาลี ส่วนคาวา่ sK’ (สรคฺ ) /ซัว/ เปน็ คายมื ภาษาสันสกฤต ทั้งสองคาแปลวา่ “สวรรค์”

       การยืมคาบาลสี ันสกฤตมาใช้แทนคาศัพทภ์ าษาเขมรท่ีมีใชอ้ ยู่แล้วเพ่ือให้ระดับภาษาสูงขึ้น เป็น
อีกลักษณะหนึ่งที่ปรากฏมาต้ังแต่ภาษาเขมรโบราณและยังคงใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน เป็นต้นว่า “วัว” เดิม
ภาษาเขมรโบราณมีรูปศัพท์ว่า ตฺมุร แต่เมื่อมีการรับรู้คาภาษาบาลีสันสกฤตท่ีใช้เรียกพาหนะของ

พระศิวะว่า โค คนเขมรจึงเรียก “วัว” ว่า eKa /โก/ ต้ังแต่น้ันมา หรืออีกหน่ึงตัวอย่างคือคาว่า “หัว”
ภาษาเขมรมศี พั ท์อยแู่ ล้วคอื คาวา่ t,Úg /ตฺโบวง์ / ภายหลงั เมอ่ื คนเขมรยืมคาบาลีสนั สกฤตว่า กปาล มาใช้
แทน คาว่า t,Úg จึงมีความหมายแคบเข้าเป็น “ทิศใต้” มเี ค้าความหมายเดิมหมายถงึ “ทิศหวั นอน” หรือ

“อญั มณ”ี หมายถึง “หัวเพชร หัวพลอย” เปน็ ต้น
       ในช่วงท่ีกัมพูชาได้รับอิสรภาพจากฝร่ังเศส นักปราชญ์ราชบัณฑิตเขมรได้จัดทาพจนานุกรม

ภาษาเขมรและมีการบัญญัติศัพท์ใหม่ออกใช้มากมาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคาท่ีบัญญัติจากภาษาบาลี
เนื่องจาก ผบู้ ญั ญตั ิศพั ทส์ ่วนใหญ่เปน็ พระสงฆผ์ ูเ้ ชย่ี วชาญภาษาบาลี (กังวล คัชชมิ า, 2548: 5)

       ศัพท์บัญญัตมิ ี 2 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะแรก ศัพท์บัญญัติที่มีคาภาษาเขมรใช้อย่กู ่อนแล้ว เชน่

“ร้านขายยา” อาจแปลเป็นภาษาเขมรแบบตรงตัวว่า haglk;fñaM /ฮาง ลัวะ ทนา/ แต่ศัพท์บัญญัติใช้
ภาษาบาลีว่า »sfsßan (โอสถสถาน) /โอ ซต ซทาน/ หรือแม้แต่คาว่า “หมอ” ซ่ึงเดิมเขมรยืมภาษา
สนั สกฤตมาใชว้ ่า eBTü (เพทยฺ ) /แปต๊ / กถ็ กู บญั ญัตใิ หม่เปน็ ภาษาบาลีวา่ evC¢bNÐti (เวชชฺ บณฺฑิต) /เวจ

บัน เดิต/ เป็นต้น ลักษณะท่ี 2 ศัพท์บัญญัติที่ไม่มีในภาษาเขมรมากอ่ น ส่วนใหญ่เป็นการแปลศัพทจ์ าก

ต่างประเทศ เช่นคาว่า Web Page “หน้าเว็บ” แปลศัพท์เป็น eKhTMB½r /เก หะ ตุม ปัว/ บัญญัติโดย
ประสมภาษาบาลี eKh (เคห) “ทอี่ ยู่” กบั ภาษาเขมรว่า TMB½r “หนา้ ” หรอื คาวา่ Globalization “โลกา-
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57