Page 53 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 53

ภาษา 6-43

ภิวัตน์” แปลศัพท์เป็น saklPavUbnIykmµ /ซา ก็อล เพีย วู ปะ นี ยะ กัม/ บัญญัติจากคาว่า sakl
(สากล) + Pav (ภาว) + ]bnIy (อุปนีย) + kmµ (กมฺม) แปลโดยรวมหมายถึง การกระทาท่ีนาไปสู่

ความเป็นสากล เปน็ ตน้
       ลักษณะคายมื ภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาเขมรส่วนใหญเ่ ปน็ การรบั มาเป็นคาๆ เน่ืองจากภาษา

บาลีสันสกฤตมีวิภัตติปัจจัย ต้องเติมหน่วยคาท่ีทาให้ทราบพจน์ เพศ กาล แต่ภาษาเขมรมีลักษณะเปน็

คาโดด ส่วนมากจึงรับคาสาเร็จรูปท่ีเติมวิภักติปัจจัยเรียบร้อยแล้วมาใช้ เช่น raCa /เรีย เจีย/ “ราชา”
GnaKt /อะ นา ก็วต/ “อนาคต” ฯลฯ แต่ก็มีบางคาที่เขมรรับคายืมบาลีสันสกฤตมาใช้แล้วสร้างคาใหม่
เองโดยการสมาสคาเอง ซึ่งไม่มีอยู่ในภาษาบาลีสันสกฤตเดิม เช่น Rbvtvþi iTU /ปรอ วัต วิ ตู/ “นัก
ประวัติศาสตร์” เกิดจากการสมาสของคาว่า Rbvtþi (ปฺรวตฺติ) “ประวัติ” + viTU (วิทู) “ผู้ชานาญ” คาว่า
rUbviTüa /รูป วึต ทเยีย/ “วิชาฟิสิกส์” เกิดจากการสมาสของคาว่า rUb (รูป) “รูป” + viTüa (วิทฺยา)
“ความรู้” หรอื บางคาเกดิ จากการประสมกบั คาเขมรเอง เชน่ PaBl¥ /เพียป ลออ/ “ความดี” เกดิ จากการ
ประสมระหว่างคายมื ภาษาบาลสี ันสกฤต PaB (ภาว) “สภาพ ภาวะ” + คาเขมร l¥ “ดี”

       คายืมภาษาบาลสี นั สกฤตเหล่านี้ เม่อื นามาใชใ้ นภาษาเขมรแลว้ ก็ได้สง่ อทิ ธิพลต่อให้ชนชาติไทย
ด้วย ร่องรอยคาศัพท์บางคาถูกนาเข้ามาสู่ไทยพร้อมประเพณีในราชสาคัญและพิธีพราหมณ์ เช่นคาว่า
ลึงค์ หากรับมาจากภาษาบาลีสันสกฤตโดยตรง รูปศัพท์ในภาษาไทยก็น่าจะเป็น ลิงค์ ตามรูปศัพท์เดิม
ว่า ลงิ คฺ แต่ที่มีรูปศัพท์เป็น ลงึ ค์ ก็นา่ จะมาจากการรบั ผา่ นภาษาเขมรที่ออกเสียงคานี้เป็นสระ /อึ/

2. อทิ ธิพลของภาษาไทย

       ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีทาให้เราทราบว่าชนชาติไทยและชนชาติเขมรมี
การถา่ ยโอนทางวัฒนธรรมครั้งใหญ่ๆ อยู่ 2 ชว่ งเวลาด้วยกนั ในระยะแรกคอื ชว่ งทไ่ี ทยอยู่ภายใต้อานาจ
ทางการปกครองและอิทธิพลของเขมรโบราณตรงกบั สมัยสโุ ขทัยและอยธุ ยาตอนต้น และชว่ งท่ี 2 คือช่วง
ที่ไทยส่งอิทธิพลกลับไปยังเขมร เมื่อกัมพูชาเป็นประเทศราชของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่ง
อทิ ธพิ ลของภาษาไทยท่เี ขมรไดร้ ับอยูใ่ นชว่ งท่ี 2 เป็นสว่ นใหญ่

       ท่ีเหน็ ได้ชัดคือเรื่องของระบบจานวนนบั เดิมทีเดยี วภาษาเขมรกาหนดนบั จานวน 20 ด้วยคาวา่

mYyéP /มวย พึย/ “ยี่สิบคร้ังที่หนึ่ง” เม่ือต้องการนับจานวน 40 ก็ต้องใช้คาวา่ BIréP /ปี พึย/ “ย่ีสิบคร้งั
ท่ีสอง” 60 ก็ต้องใช้คาว่า bIéP /เบ็ย พึย/ “ย่ีสิบครั้งท่ีสาม” ไล่ไปเรื่อยๆ ในขณะที่เมื่อต้องการนับ
จานวน 30 ก็ต้องใช้คาว่า db;mYyéP /ด็อป มวย พึย/ “สิบบวกย่ีสิบครั้งที่หน่ึง” ซึ่งเป็นเร่ืองยุ่งยากมาก

เมื่อคนเขมรได้สมั ผัสกับภาษาไทยซึ่งมรี ะบบนับเปน็ เลขฐานสิบ ซ่ึงง่ายต่อการนับจานวน ทาให้เขมรยืม
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58