Page 52 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 52

6-42 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

ตอนที่ 6.3

การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบวัดเจตคติ ความพึงพอใจ
และค่านิยม

โปรดอ่านแผนการสอนประจำ�ตอนท่ี 6.3 แล้วจึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแตล่ ะเร่ือง

  หัวเร่อื ง

         เร่ืองที่ 6.3.1 	การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบวัดเจตคติ
         เร่ืองที่ 6.3.2 	การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความพึงพอใจ
         เรื่องท่ี 6.3.3 	การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบวัดค่านิยม

  แนวคิด

         1.	 เจตคติ ความพึงพอใจ และค่านิยม เป็นเจตพิสัยกลุ่มท่ีเป็นด้านความรู้สึก เจตคติ เป็น
            ความรสู้ กึ นกึ คดิ ชนื่ ชอบหรอื ไมช่ น่ื ชอบตอ่ บคุ คล สงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ และมแี นวโนม้ ทจี่ ะปฏบิ ตั ิ
            ตามความรู้สกึ นัน้ เจตคติในทางบวกกม็ ีลกั ษณะเดยี วกับความพึงพอใจ และเม่ือเกิดเปน็
            ความเชื่อท่ีบุคคลยึดถือว่าเป็นคุณค่ามีความส�ำคัญ ใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต
            ก็เรียกว่า ค่านิยม

         2. 	ว ิธีการวัดเจตคติ ความพึงพอใจ และค่านิยม ได้แก่ การใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์
            การสังเกตกิริยาท่าทาง สีหน้า การพูด หรือการให้ท�ำแบบวัดสถานการณ์ เคร่ืองมือที่ใช้
            วัด จึงได้แก่ แบบสอบถามมาตรประมาณค่า อาจจะเป็นมาตรวัดแบบลิเคิร์ท มาตรวัด
            แบบเทอร์สโตน มาตรวัดแบบออสกูด แบบวัดสถานการณ์ แบบสัมภาษณ์ เป็นต้น

         3. 	การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดเจตคติ ความพึงพอใจ และค่านิยม ตรวจสอบความตรง
            ตามเน้ือหาโดยให้ผู้เช่ียวชาญพิจารณาว่าข้อความถามตรงตามและครอบคลุมพฤติกรรม
            ที่ต้องการวัด การตรวจสอบความตรงตามโครงสร้างท่ีใช้นิยมใช้คือ เทคนิคกลุ่มท่ีรู้ชัด
            การวิเคราะห์องค์ประกอบ ความเที่ยงของแบบวัดท่ีเป็นมาตรประมาณค่า วิเคราะห์ด้วย
            สัมประสิทธ์ิแอลฟา ส่วนคุณภาพรายข้อคือ หาค่าอ�ำนาจจ�ำแนกที่เป็นความสอดคล้อง
            ระหว่างข้อกับผลรวมทั้งฉบับ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57