Page 86 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 86
6-76 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
คร้ังเดียว ไม่ต้องสร้างแบบวัดคู่ขนาน วิธีน้ีเหมาะกับมาตรวัดท่ีมีความเป็นเอกพันธ์ (homogeneity) ของ
ข้อค�ำถาม มีความยากรายข้อใกล้เคียงกัน และสหสัมพันธ์ระหว่างข้อสูงสุด
การค�ำนวณค่าความเที่ยงส�ำหรับมาตรประมาณค่าแบบลิเคิร์ท ข้อสอบอัตนัยหรือข้อสอบท่ีมีการให้
คะแนนมากกว่าหนึ่งค่า คือ สูตรสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค (alpha-coefficient) วิธีการวิเคราะห์
ความแปรปรวนของ Hoyt (Hoyt’s analysis of variance) ส�ำหรับข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบแบบวัดที่
มีค�ำตอบ 2 ค่า คือ ตอบถูกได้ 1 ตอบผิดได้ 0 ใช้สูตร KR-20 หรือ KR-21
ข้ันตอนการตรวจสอบคุณภาพแบ่งเป็น 2 ข้ันตอน คือ
1) ให้ผู้เช่ียวชาญพิจารณาความตรงตามเนื้อหา ว่าข้อความมีทั้งทางบวกและลบ เขียนตรง
และครอบคลุมตามพฤติกรรมที่ต้องการวัด เหมาะสมทางภาษา แล้วค�ำนวณค่า IOC ปรับปรุงตามค�ำแนะน�ำ
ของผู้เช่ียวชาญ วิธีการวิเคราะห์ดูรายละเอียดในเร่ืองท่ี 6.2.2
2) ทดลองใชแ้ บบสอบถามกบั กลมุ่ ทม่ี ลี กั ษณะเดยี วกบั กลมุ่ เปา้ หมาย จำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 30 คน
แลว้ นำ� ผลจากการตรวจสอบมาวเิ คราะห์ (1) ความตรงตามโครงสรา้ ง (2) คณุ ภาพรายขอ้ และ (3) ความเทยี่ ง
ของเคร่ืองมือ ด้วยการวิเคราะห์ด้วยสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค (alpha-coefficient) เพ่ือยืนยัน
คุณภาพเคร่ืองมือก่อนน�ำไปใช้จริง น�ำไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 30 คน เพื่อหาคุณภาพรายข้อ
และคณุ ภาพของมาตรวดั ทง้ั ฉบบั คณุ ภาพรายขอ้ คอื สว่ นคณุ ภาพของมาตรวดั วธิ กี ารวเิ คราะหด์ รู ายละเอยี ด
ในเรื่องที่ 6.2.2
หลังจากศึกษาเน้อื หาสาระเร่อื งท่ี 6.4.2 แล้ว โปรดปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 6.4.2
ในแนวการศกึ ษาหน่วยท่ี 6 ตอนท่ี 6.4 เรื่องที่ 6.4.2