Page 12 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 12

7-2 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

หนว่ ยที่ 7

การวดั ดา้ นทักษะพสิ ยั

เคา้ โครงเน้อื หา

            ตอนท่ี 7.1 	 แนวคิดเกี่ยวกับการวัดด้านทักษะพิสัย
            	 7.1.1 	ความหมาย พฤติกรรม และคุณลักษณะของการวัดด้านทักษะพิสัย
            	 7.1.2 	ประเภทของเครื่องมือวัดด้านทักษะพิสัย
            	 7.1.3 	หลักการสร้างเคร่ืองมือวัดด้านทักษะพิสัย
            ตอนที่ 7.2 	 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกต
            	 7.2.1 	แนวคิดเก่ียวกับแบบสังเกต
            	 7.2.2 	การสร้างแบบสังเกต
            	 7.2.3 	การตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกต
            ตอนที่ 7.3 	 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์
            	 7.3.1 	แนวคิดเกี่ยวกับแบบสัมภาษณ์
            	 7.3.2 	การสร้างแบบสัมภาษณ์
            	 7.3.3 	การตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์
            ตอนท่ี 7.4 	 การวัดและประเมินทักษะในศตวรรษท่ี 21 ด้านทักษะพิสัย
            	 7.4.1 	แนวทางการวัดทักษะในศตวรรษท่ี 21 ด้านทักษะพิสัย
            	 7.4.2 	เคร่ืองมือวัดทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะพิสัย

แนวคดิ  1. 	พ ฤตกิ รรมดา้ นทกั ษะพสิ ยั เปน็ การแสดงความสามารถของบคุ คลในการกระทำ� ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
           กับการใช้มือ กล้ามเนื้อ หรืออวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการเคล่ือนไหวหรือปฏิบัติ
           งาน เคร่ืองมือในการวัดด้านทักษะพิสัยมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับเกณฑ์ท่ีใช้ในการแบ่ง
           การสร้างเคร่ืองมือวัดด้านทักษะพิสัย ประกอบด้วย 3 ข้ันตอนส�ำคัญ ได้แก่ การวางแผน
           สร้างเคร่ืองมือ การด�ำเนินการสร้างเครื่องมือ และการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ

        2. 	การวัดด้านทักษะพิสัยท่ีมีความตรงมากท่ีสุดคือ การท่ีผู้ถูกวัดมีโอกาสปฏิบัติงานใน
           สถานการณ์ต่าง ๆ และผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการท�ำงานหรือสังเกต
           คุณภาพของผลงานที่ได้ เคร่ืองมือที่ช่วยให้การเก็บรวบรวมข้อมูลบรรลุวัตถุประสงค์ คือ
           แบบสังเกตซึ่งต้องวางแผน ด�ำเนินการสร้างและตรวจสอบคุณภาพอย่างเป็นระบบ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17