Page 16 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 16
7-6 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
2.1 การจำ� แนกพฤตกิ รรมทางดา้ นทกั ษะพสิ ยั ของเดฟ (Dave’s psychomotor domain taxonomy)
ตารางที่ 7.1 การจำ�แนกพฤตกิ รรมดา้ นทกั ษะพิสยั ของเดฟ
ลำ�ดบั พฤตกิ รรม รายละเอียด ตวั อย่างพฤติกรรม
1. การเลียนแบบ (imitation) คัดลอก ท�ำตาม ถอดแบบ ท�ำซ้�ำ
สังเกตการท�ำงานของผู้สอนและ ลอกเลียน
2. การปฏิบัติด้วยตนเอง พยายามท�ำตามหรือได้เห็นชิ้นงาน
(manipulation) ที่ส�ำเร็จแล้วพยายามท�ำให้เหมือน ประดิษฐ์ สร้าง แสดง
ตัวอย่าง จัดการ ประยุกต์
3. การปฏิบัติด้วยความช�ำนาญ
(precision) ปฏิบัติงานตามค�ำส่ังด้วยวาจาหรือ สาธิต แสดง ท�ำส�ำเร็จ
ค�ำแนะน�ำท่ีเขียนเป็นลายลักษณ์ ท�ำอย่างสมบูรณ์แบบ
4. การปฏิบัติในสถานการณ์ใหม่ อักษรโดยไม่ต้องท�ำตามตัวอย่าง
ท่ีซับซ้อน (articulation) พัฒนา บูรณาการ ปรับเปลี่ยน
ปฏิบัตงิ านดว้ ยตนเองอย่างชำ� นาญ แก้ไข ประสานงาน ร่วมงาน
5. การปฏิบัติอย่างเป็นธรรมชาติ ไดผ้ ลงานมคี ณุ ภาพสงู และสามารถ
(naturalization) สาธิตการท�ำงานให้ผู้อื่นได้ ออกแบบ จัดการ บริหาร
สร้างสรรค์
ปฏิบัติงานในสถานการณ์ใหม่โดย
ใช้ทักษะท่ีซับซ้อนและสามารถ
ปฏิบัติงานจนส�ำเร็จอย่างราบร่ืน
ปฏิบัติงานได้อย่างเป็นธรรมชาติ
โดยใช้ทักษะต่าง ๆ อย่างอัตโนมัติ
เพ่ือสร้างสรรค์นวัตกรรม
2.2 การจ�ำแนกพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัยของแฮร์โรว์ (Harrow’s psychomotor domain
taxonomy)
ตารางที่ 7.2 การจำ�แนกพฤติกรรมดา้ นทักษะพสิ ยั ของแฮร์โรว์
ลำ�ดบั พฤตกิ รรม รายละเอยี ด ตวั อย่างพฤตกิ รรม
การตอบสนองตามสัญชาตญาณ
1. การเคล่ือนไหวเพื่อตอบสนอง การตอบสนองทางร่างกายโดย
ส่ิงเร้าอย่างอัตโนมัติ สัญชาตญาณด้วยอวัยวะบางส่วน
(reflex movement) หรืออวัยวะหลายส่วนผสมผสาน
กัน