Page 26 - ไทยศึกษา
P. 26
๑๓-16 ไทยศกึ ษา
เริ่มต้นจากไม้ที่หาได้ง่ายแล้วรู้จักท�ำอิฐเผา การน�ำศิลาแลงซึ่งเม่ือแรกขุดจากพื้นดินจะมีลักษณะอ่อนตัว
สามารถตดั แตง่ รูปรา่ งได้ตามตอ้ งการ แตเ่ มือ่ ผ่านสภาพอากาศภายนอกแลว้ จะมคี วามแขง็ แกร่ง
นกั โบราณคดไี ดค้ น้ พบเสน้ ใยที่บา้ นเชียง สันนษิ ฐานว่าเป็นเสน้ ไหมบนโครงกระดกู มนุษย์ ทำ� ให้
พอจะสรปุ ไดว้ า่ ความรใู้ นการทำ� เสน้ ไหมทบ่ี า้ นเชยี งนอี้ าจมมี าตง้ั แตส่ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ อยา่ งไรกต็ าม
มหี ลกั ฐานแนช่ ดั วา่ ในยคุ ตน้ ประวตั ศิ าสตรม์ กี ารทอผา้ ดว้ ยเสน้ ใยจากฝา้ ย โดยมกี ระบวนการตงั้ แตก่ ารปลกู
ฝ้าย การทำ� เส้นใยและการทอเปน็ ผนื ผ้า ซงึ่ ต้องใช้ความรูใ้ นการประดษิ ฐ์เครอ่ื งมืออุปกรณ์หลายข้ันตอน
ความรแู้ ละเทคโนโลยที สี่ รา้ งสรรคใ์ นยคุ สมยั กอ่ นและตน้ ประวตั ศิ าสตร์ นบั เปน็ ยคุ เรม่ิ ตน้ ของการ
ส่ังสมประสบการณ์ในการดัดแปลงธรรมชาติ ท�ำให้ผู้คนในดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยปัจจุบันมีการด�ำรง
ชีวิตและสามารถประกอบกจิ กรรมการผลิตไดอ้ ย่างสุขสบายพอสมควร ประสบการณแ์ ละความรู้เหล่านีไ้ ด้
สืบเน่ืองต่อมาในสมัยจารีตอกี ยาวนานหลายรอ้ ยปี
๒. ความรู้และการสร้างสรรค์เทคโนโลยีสมัยสังคมจารีต
นับต้ังแต่ก่อนยุคสังคมเมือง มีผู้คนกระจัดกระจายต้ังถ่ินฐานเป็นชุมชนอยู่ทั่วไป และมีหลักฐาน
ทป่ี รากฏเปน็ โบราณวัตถุต่างๆ เชน่ เคร่ืองมือหนิ เครื่องมอื โลหะ เครือ่ งปน้ั ดินเผา บง่ บอกถึงการนำ� เอา
ความรูม้ าปรับประยกุ ต์และดัดแปลงวตั ถดุ บิ จากธรรมชาติเพือ่ เป็นอปุ กรณเ์ ครือ่ งมอื ใช้ในชีวติ ประจำ� วนั
ความรเู้ หลา่ นแี้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ กระบวนการเรยี นรู้ โดยเบอื้ งตน้ ไดจ้ ากการศกึ ษาสงั เกตจนเกดิ ความรู้
ความเข้าใจ แลว้ นำ� ความรูน้ นั้ มาประยกุ ตใ์ ชแ้ ละพฒั นาสิง่ ประดษิ ฐ์ รวมทัง้ เทคนิควธิ ี การใชง้ าน ไปจนถงึ
กระบวนการทำ� งาน จากความรใู้ นการหลอมโลหะทำ� ใหส้ ามารถผลติ เครอื่ งมอื ตา่ งๆ ทใ่ี ชใ้ นกจิ กรรมหลายดา้ น
ตง้ั แตก่ ารลา่ สตั ว์ การใชเ้ ปน็ อาวธุ ใชใ้ นครวั เรอื น ในงานเกษตรกรรม และในการสรา้ งสรรคง์ านดา้ นศลิ ปะ
การก่อสร้าง ยังผลให้สังคมมีความม่ันคง ก้าวสู่ยุคสมัยท่ีเจริญรุ่งเรืองข้ึน และพัฒนาจากชุมชนมาเป็น
บ้านเมือง
การก่อตัวของบ้านเมืองในบริเวณท่ีเป็นประเทศไทยปัจจุบัน เร่ิมต้นราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๓
และมพี ฒั นาการของแวน่ แควน้ ตา่ งๆ ตง้ั แตพ่ ทุ ธศตวรรษที่ ๑๓-๑๙ จนเมอื่ สถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยาใน พ.ศ.
๑๘๙๓ บทบาทและอ�ำนาจของกรุงศรีอยุธยาท่เี พมิ่ พนู แผ่ขยายอย่างรวดเรว็ จนสามารถผนวกแว่นแควน้
สโุ ขทัย นครศรธี รรมราช มาอยูใ่ นอ�ำนาจทางการเมืองในเวลาต่อมา
เมื่อพินิจเทคโนโลยีในสมัยสังคมจารีตที่สืบทอดด้วยความรู้เชิงช่างและการผลิตที่มีอยู่อย่าง
ต่อเนอ่ื งนน้ั ทสี่ �ำคัญไดแ้ ก่ การผลติ เครื่องปน้ั ดนิ เผา ชุมชนเมอื งยคุ ต้นๆ ล้วนมีการผลิตเคร่อื งป้นั ดนิ เผา
อาทิ เคร่ืองปั้นดินเผาแถบภาคกลางพบที่จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดลพบุรี ทางใต้มีที่สทิงพระ จังหวัด
สงขลา ทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มเี ครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาเขมร ทอ่ี ำ� เภอบา้ นกรวด จงั หวดั บรุ รี มั ย์ กลมุ่ ภาคเหนอื
ไดแ้ ก่ หรภิ ุญชยั จงั หวัดล�ำพูน จงั หวดั ลำ� ปาง สันก�ำแพง เวยี งกาหลง จังหวดั เชยี งใหม่ จังหวัดเชยี งราย
จังหวดั พะเยา และที่มีช่อื เสียงเปน็ ทีร่ ู้จักมากทสี่ ดุ คอื เครือ่ งป้ันดนิ เผาสุโขทยั ซ่งึ มพี ฒั นาการตอ่ เน่ืองมา
ต้งั แตพ่ ุทธศตวรรษท่ี ๑๖ จนถึงพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒
ในระยะแรกเครื่องปั้นดินเผาสุโขทัยผลิตข้ึนในท้องถ่ินเพื่อใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และจากความรู้
พนื้ ฐานไดพ้ ฒั นาสรู่ ะดบั ทป่ี ระณตี มากขน้ึ เปน็ งานศลิ ปะ เมอื่ อาณาจกั รสโุ ขทยั เจรญิ รงุ่ เรอื งขนึ้ จงึ มกี ารผลติ