Page 27 - ไทยศึกษา
P. 27

เทคโนโลยีไทย ๑๓-17
เคร่ืองปั้นดินเผาชนิดเคลือบและมีคุณภาพดีขึ้น ส่วนใหญ่ใช้ในงานด้านศาสนา ประเพณี และเป็นสินค้า
ส่งออกไปขายต่างประเทศด้วย

       จากการศึกษา เคร่ืองปั้นดินเผาไทยเป็นที่ยอมรับว่าสุโขทัยเคยเป็นแหล่งผลิตเคร่ืองปั้นดินเผา
แหลง่ ใหญท่ สี่ ำ� คญั แหง่ หนงึ่ ในภาคพน้ื เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มเี ตาเผากระจายอยใู่ นหลายพนื้ ท่ี ทงั้ ทเี่ มอื ง
ศรีสัชนาลยั เมอื งเกา่ สโุ ขทยั เมืองพษิ ณโุ ลก แหล่งส�ำคัญได้แก่ เตาเกาะนอ้ ย อำ� เภอศรสี ชั นาลัย จังหวดั
สุโขทัย (ในปัจจุบัน) มีจ�ำนวนเตาเผามากมายเกือบหนึ่งพันเตา ลักษณะเตามีขนาดใหญ่ ซ่ึงพัฒนาจาก
การทำ� เปน็ หลมุ เลก็ ๆ รมิ แมน่ ำ้� จากนน้ั กอ่ เปน็ ผนงั สำ� หรบั กน้ั ไฟ และสรา้ งเตาเผาบนพน้ื ราบ ใชด้ นิ เหนยี ว
ท�ำเป็นหลังคาบนโครงไม้ไผ่ ในยุคหลังเตาเผาส่วนใหญ่ก่อด้วยอิฐและมีขนาดใหญ่ ทั้งน้ีเพ่ือรองรับ
อุตสาหกรรมการผลติ เคร่ืองปน้ั ดินเผาเป็นสนิ ค้าส่งออก

                           ภาพท่ี ๑๓.๓ เตาเกาะนอ้ ย อำ� เภอศรีสชั นาลยั

ท่ีมา: 	h ttp://www.qrcode.finearts.go.th/index.php/th/historicalpark/sisatchanalai/sisatchanalai-02/item/280-sisatchan-
      alai02-009 สืบคน้ เมอ่ื ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๖๑.

       ในสมัยอยุธยา อาณาจักรอยุธยาท่ีมีกรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองหลวง ด�ำรงสถานะเป็นศูนย์กลาง
ทางการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกจิ และสงั คมของไทยสมยั จารตี นอกจากนนั้ ยงั เปน็ อาณาจกั รทมี่ รี ปู แบบ
การปกครองทม่ี นั่ คง มรี ะบบกฎหมาย รวมทงั้ การจดั ระบบกำ� ลงั คน (ระบบไพร)่ ทรี่ ดั กมุ มที ต่ี งั้ ในบรเิ วณ
พืน้ ทอี่ ุดมสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู สามารถผลติ อาหารเล้ียงผ้คู นได้จ�ำนวนมาก และราชธานียงั อยู่
ในศูนย์กลางทางการค้าทั้งตลาดภายในและภายนอกด้วย กรุงศรีอยุธยาจึงมีฐานะเป็นเมืองท่าระดับ
นานาชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับเป็นพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจที่มั่นคง และสร้างความม่ังค่ัง
แกอ่ าณาจกั ร

       นอกจากนี้ อยธุ ยายงั สบื ทอดมรดกดา้ นวฒั นธรรม ไมว่ า่ จะเปน็ ศลิ ปะ วทิ ยาการ และศาสนา จาก
เมืองลพบรุ ที เี่ คยเป็นศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองดา้ นวฒั นธรรมในลุม่ แมน่ ำ้� เจ้าพระยาตอนล่าง
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32