Page 29 - ไทยศึกษา
P. 29

เทคโนโลยีไทย ๑๓-19
       ความรใู้ นการสร้างสรรคส์ ่ิงประดิษฐท์ ่มี ีประโยชน์ใช้สอย เชน่
       การลดและผ่อนแรงงานมนุษยโ์ ดยใชห้ ลกั การกลศาสตรแ์ ละพลังงานธรรมชาติ เชน่ แรงงานสัตว์
พลงั งานน�้ำ พลงั งานลม ดังจะเห็นได้จาก หลุกแรงควาย กงั หันลม กงั หันนำ้� ระหัดวดิ น้ำ�
       การปรบั เปลย่ี นสภาพแวดลอ้ ม เพอ่ื ใหเ้ กดิ สภาวะใหมท่ เี่ หมาะสมตอ่ การดำ� รงชวี ติ และผลติ อาหาร
เช่น การปิดกนั้ ทางนำ�้ ด้วยการท�ำเหมืองฝาย เข่ือนก้นั น�้ำ การขุดคู คลอง เพื่อชักน้�ำและส่งน�้ำไปยังพนื้ ท่ี
ท่ีต้องการ การทำ� นาเกลอื จากนำ้� ทะเล
       การสร้างยานพาหนะในการคมนาคม ทางนำ�้ เช่น เรอื ชนดิ ต่างๆ ทัง้ เรือขดุ และเรอื ต่อ อุปกรณ์
ช่วยในการเคลอื่ นที่ เช่น แจว ถอ่ ตะกูด พาย ใบเรอื พาหนะในการคมนาคมทางบก เชน่ เกวียน ระแทะ
       การประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งมอื เครอื่ งใชต้ า่ งๆ ในการดกั จบั สตั ว์ สตั วบ์ ก เชน่ แรว้ กบั ดกั สตั วน์ ำ�้ เชน่ อวน
แห ส่มุ ตุม้ ไซ ฯลฯ
       ๓.๒ 	เทคโนโลยีระดับก้าวหน้า เป็นการพฒั นาเทคโนโลยใี นระดบั ท่ีดีกวา่ พื้นฐาน เพ่ือปรบั ปรงุ
คุณภาพชีวิต สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ในด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และการใช้งานท่ีต้องใช้
ความรู้ทซี่ บั ซ้อนกว่าการใช้ในชวี ติ ประจ�ำวัน เชน่ เทคนิคการก่อสร้าง ในสมยั สงั คมจารีตมกี ารสร้างสรรค์
งานกอ่ สรา้ งทตี่ อ้ งใชค้ วามรเู้ ชงิ ชา่ งและเทคนคิ ระดบั สงู ทง้ั การกอ่ สรา้ งดว้ ยแรงศรทั ธาอนั เนอ่ื งในพระราช-
ประเพณแี ละการศาสนา ไดแ้ ก่ การกอ่ สรา้ งพระราชวงั ศาสนสถาน และสง่ิ กอ่ สรา้ งอน่ื ๆ โดยรบั เอาเทคนคิ
การกอ่ สรา้ งจากภายนอกมาผสมผสานกบั ภมู ปิ ญั ญาไทย เชน่ การกอ่ สรา้ งอาคารกอ่ อฐิ ถอื ปนู มกี รอบประตู
หน้าต่างโค้ง
       ส่ิงก่อสร้างท่ีนับได้ว่าเป็นสถาปัตยกรรมโดดเด่นของไทยในสมัยสังคมจารีต คือ การก่อสร้าง
พระเมรมุ าศ ในสมยั อยธุ ยามบี นั ทกึ ไวอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ พระเมรมุ าศของพระมหากษตั รยิ ม์ ขี นาดใหญโ่ ตมาก
การกอ่ สรา้ งใชไ้ มเ้ ป็นส่วนประกอบทั้งหมด นับเป็นสง่ิ ก่อสรา้ งดว้ ยไมท้ ่ีมีความสงู ที่สดุ เทา่ ทเี่ คยมีมา บาง
รชั กาลมคี วามสงู ถงึ ๒ เส้น ๑๑ วา เท่ากับ ๑๐๒.๗๕ เมตร หรอื สูงกว่าตกึ ๒๐ ช้ัน ซงึ่ ตอ้ งใช้ความรใู้ น
การก�ำหนดสัดส่วน การออกแบบ การค�ำนวณการต่อเชื่อมโครงสร้าง การรับน้�ำหนัก นับเป็นผลงาน
สร้างสรรคท์ ีบ่ รรลถุ ึงระดบั การใช้ความรู้ทางเทคโนโลยขี ัน้ สูงในเชิงช่างของไทย
       ความรดู้ า้ นกลศาสตร์ นอกจากจะเปน็ ความรพู้ น้ื ฐานในกจิ กรรมทวั่ ไปแลว้ ในสมยั อยธุ ยามบี นั ทกึ
ในพระราชพงศาวดารถึงการเคล่ือนย้ายพระพุทธรูปขนาดใหญ่ เช่น การเคลื่อนย้ายพระมงคลบพิตร
พระนครศรอี ยธุ ยา และการชะลอพระพทุ ธไสยาสนว์ ดั ปา่ โมก จงั หวดั อา่ งทอง ซง่ึ จะตอ้ งมกี ารวางแผนงาน
การจัดการเร่ืองแรงงาน การใช้เทคนคิ วิธีการและเครอ่ื งมืออยา่ งถกู ตอ้ ง
       ตัวอยา่ งการประยกุ ตค์ วามรทู้ างกลศาสตรท์ ี่โดดเด่นอีกเรื่องหนงึ่ คือ เกรนิ บนั ไดนาค ทีป่ ระดษิ ฐ์
คดิ คน้ ขน้ึ ในสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ เนอื่ งจากตง้ั แตส่ มยั อยธุ ยามาใช้ “ไมล้ ม้ ลกุ ” ในการอญั เชญิ พระโกศ
ขนึ้ ประดษิ ฐานบนพระเมรมุ าศ ซงึ่ ไมส่ ะดวก ในสมยั รตั นโกสนิ ทรเ์ มอื่ คราวงานถวายพระเพลงิ พระบรมศพ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรีทรงออกแบบเกรินบันไดนาคเพ่ือใช้ในการน้ี
ประกอบดว้ ย บนั ไดนาค เกรนิ สำ� หรบั วางพระโกศ และกวา้ น ดว้ ยการใชแ้ รงหมนุ กวา้ นเลอ่ื นเกรนิ ขนึ้ ตาม
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34