Page 38 - ไทยศึกษา
P. 38
๕-28 ไทยศกึ ษา
๒. การขาดประสิทธิภาพของระบบไพร่และหน่วยงานราชการ
ในชว่ งทไี่ ทยเผชิญกบั การคกุ คามของจกั รวรรดนิ ยิ มตะวนั ตกนนั้ เปน็ ระยะทรี่ ะบบไพร่และหนว่ ย
งานราชการไดเ้ ปลยี่ นแปลงเคลอ่ื นคลายมาสกู่ ารขาดประสทิ ธภิ าพ ดงั จะไดพ้ จิ ารณากนั ที่ ระบบไพร่ กอ่ น
ในสมยั รชั กาลท่ี ๓ ระบบไพรเ่ รม่ิ เขา้ สคู่ วามหละหลวมจากการทต่ี อ้ งผอ่ นคลายการควบคมุ อนั เนอ่ื งมาจาก
ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของการคา้ สำ� เภา การขยายตวั ของระบบเจา้ ภาษนี ายอากร และการกอ่ ตวั ของเศรษฐกจิ
แบบตลาด (market economy) ทผ่ี ลติ สนิ คา้ เกษตร ฝา้ ย พรกิ ไทย ยาสบู ออ้ ย รวมทงั้ สนิ คา้ อตุ สาหกรรม
ข้ันต้นน้�ำตาลทราย เรือส�ำเภา และดีบุก เพื่อสนองความต้องการของตลาดต่างประเทศ แรงงานไพร่จึง
ไดร้ บั การปลดปลอ่ ยมากขนึ้ เพอ่ื ใหร้ บั กบั สภาพความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ จำ� นวนไพรแ่ รงงานลดตำ�่ ลง
ในขณะทีไ่ พรส่ ่วยทวีจ�ำนวนมากข้นึ
สภาพการณเ์ หลา่ นเี้ กดิ ขน้ึ ในขณะทค่ี วามตอ้ งการกำ� ลงั คนเพอื่ ไปทำ� ศกึ สงครามไดล้ ดนอ้ ยลงกวา่
ช่วงแรกต้ังกรงุ รัตนโกสินทร์ และมีการหลงั่ ไหลเขา้ มาของชาวจนี อพยพ ทีไ่ ดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในเศรษฐกิจ
ไทยหลากหลายด้าน รวมท้งั เข้ามาเปน็ แรงงานรบั จา้ งท�ำงานโยธาแทนพวกไพรห่ ลวงแรงงานทีผ่ นั ไปเปน็
ไพรส่ ว่ ยทง้ั สว่ ยเงนิ และสว่ ยสง่ิ ของ ชาวจนี อพยพจงึ หลง่ั ไหลเขา้ มาในสมยั รตั นโกสนิ ทรอ์ ยา่ งเหมาะสมทนั
กับเหตุการณ์บ้านเมือง สอดคล้องกับระบบการควบคุมก�ำลังคนที่ต้องยืดหยุ่นไปตามความเปล่ียนแปลง
ทางเศรษฐกิจ
นอกจากปัจจัยหลายประการท่ีได้กล่าวมาแล้ว ในเวลาต่อมาการผ่อนคลายการควบคุมในระบบ
ไพรไ่ ดเ้ พมิ่ มากขนึ้ จากแรงผลกั ดนั การท�ำสนธิสัญญาเบาว์ริงกับอังกฤษ (พ.ศ. ๒๓๙๘) และสนธิสัญญา
ฉบบั อนื่ ๆ กบั ประเทศตะวนั ตกในสมยั รชั กาลที่ ๔ ทำ� ใหไ้ ทยตอ้ งยกเลกิ ระบบการคา้ ผกู ขาดของพระคลงั สนิ คา้
เปลี่ยนมาใช้ระบบการค้าเสรี ท้ังยังท�ำให้การผลิตเพ่ือการค้าและเศรษฐกิจแบบตลาดซ่ึงเร่ิมก่อตัวขึ้นบ้าง
แล้วในสมัยรัชกาลท่ี ๓ พฒั นาขยายตัวออกมาเป็นเศรษฐกจิ เงินตรา หรอื กลา่ วอกี นยั หนึ่งก็คอื เศรษฐกิจ
ไทยไดพ้ ฒั นาเขา้ สรู่ ะบบทนุ นยิ มและเชอ่ื มโยงเขา้ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของเศรษฐกจิ โลก มกี ารผลติ เพอื่ การคา้ เพมิ่
มากข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตข้าว ท�ำให้ต้องผ่อนผันปล่อยแรงงานไพร่ให้พ้นจากการควบคุมใน
จ�ำนวนทเี่ พ่มิ มากขึน้ กว่าเดมิ เพอ่ื ผลติ ขา้ วสนองความต้องการของจักรวรรดนิ ยิ มตะวันตก ซงึ่ ขณะนน้ั ได้
เขา้ มาลงทนุ ทำ� เหมอื งแร่ ทำ� อตุ สาหกรรมตา่ งๆ และทำ� ไรข่ นาดใหญ่ ในอาณานคิ มของตนแถบเอเชยี ตะวนั
ออกเฉยี งใต้ และตอ้ งการขา้ วจำ� นวนมากไปเลย้ี งแรงงานชาวจนี และชาวอนิ เดยี ในกจิ การของตน
ผลแหง่ ความยดื หยนุ่ ทเ่ี พม่ิ ทวขี น้ึ ทำ� ใหร้ ะบบไพรห่ ละหลวมและขาดประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ ความ
เส่ือมภายในระบบไพร่ท�ำให้อ�ำนาจต่างๆ ท้ังด้านการเมืองและเศรษฐกิจ แทนที่จะรวมศูนย์อยู่ท่ีองค์
พระมหากษตั รยิ ก์ ลบั กระจายไปอยทู่ มี่ ลู นายตา่ งๆ การควบคมุ ไพรก่ ลายเปน็ ผลประโยชนข์ องมลู นายแทนท่ี
จะเป็นผลประโยชน์ของรัฐ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ พระมหากษัตริย์มีหลักฐานว่าบางครั้งรัฐไม่สามารถเรียก
เกณฑแ์ มแ้ ต่ไพร่หลวง ความเสือ่ มของระบบไพรจ่ งึ ท�ำใหอ้ �ำนาจของพวกมูลนายเพิม่ ทวีขน้ึ อย่างมาก ดงั
จะเห็นได้จากการมีอ�ำนาจอย่างมากมายของพวกขุนนางตระกูลบุนนาค ในขณะท่ีพระราชอ�ำนาจของ
พระมหากษตั รยิ ์กลบั ถกู บนั่ ทอนลดน้อยลง จนมิได้เปน็ สมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์อยา่ งแท้จริง
การคกุ คามของมหาอ�ำนาจตะวันตกทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจจงึ เป็นปัจจัยภายนอกท่ีเขา้ มา
เร่งให้ระบบไพรใ่ นสมัยรชั กาลท่ี ๕ ซึง่ ผกุ ร่อนอย่แู ลว้ จากแรงผลกั ดันของปจั จัยภายในหลายประการ เข้า