Page 47 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 47

วิกฤตการณท์ างเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 กับการเมืองและเศรษฐกจิ ไทย 12-37
       ประการที่สอง รัฐบาลด�ำเนินการแก้ไขปัญหาการผลิตภาคเกษตร โดยก�ำหนดยุทธศาสตร์การ
พัฒนายางพาราครบวงจร คือ การเพ่ิมผลผลิตให้มากข้ึน การแปรสภาพโดยจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม
ยางพาราแห่งแรกของประเทศไทย การพัฒนาด้านการตลาด การร่วมมือกับผู้ผลิตต่างประเทศ โดยท�ำ
ข้อตกลงรว่ มกันในเบ้ืองตน้ (MOU) เร่อื งยางพาราระหว่างประเทศผู้ผลติ ยางพารา คือ ไทย อินโดนเี ซยี
และมาเลเซีย และดำ� เนนิ นโยบายดา้ นการบรหิ ารยางพารา
       นอกจากน้ี รฐั ยงั จัดท�ำโครงการนำ� ร่องผู้ผลักดนั สินค้า (Product champion) ได้แก่ ยางพารา
ทเุ รยี น ลำ� ไยและกลว้ ยไม้ โดยเนน้ การผลติ การตลาด การแปรรปู ควบคมุ ปรมิ าณการผลติ รฐั บาลอนมุ ตั ิ
โครงการเงินก้เู พื่อปรบั โครงสรา้ งการผลติ อนุมตั ยิ ุทธศาสตร์สินคา้ เกษตรหลกั 12 ชนิด ประกอบด้วยข้าว
ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ มนั สำ� ปะหลงั ยางพารา ออ้ ย กาแฟ ปาลม์ นำ้� มนั ลำ� ไย สบั ปะรด ทเุ รยี น กลว้ ยไม้ และ
กงุ้ กลุ าดำ� เมอื่ วนั ที่ 14 ธนั วาคม พ.ศ. 2542 รฐั บาลแทรกแซงราคาสนิ คา้ เกษตร การประกนั ภยั พชื ผล โดย
คณะรัฐมนตรีลงมติเมื่อวันท่ี 5 กันยายน พ.ศ. 2543 และจัดท�ำแผนพัฒนาปาล์มน้�ำมันและน�้ำมันปาล์ม
พ.ศ. 2543–2549
       ประการทส่ี าม รฐั บาลดำ� เนนิ นโยบายและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เกษตรกร โดยจดั ตงั้ “คณะกรรมการ
บรหิ ารสนิ เชอ่ื เกษตรกรแหง่ ชาติ (กบส.)” มาตงั้ แตร่ ฐั บาลชวน 1 ในปี 2536 ดำ� เนนิ มาตรการแกไ้ ขปญั หา
หนี้สินเกษตรกร ด้วยการปรับโครงสร้างหน้ี และจ�ำหน่ายหน้ีสูญส�ำหรับหน้ีในระบบกับธกส. และยังได้
แกไ้ ขหน้นี อกระบบให้แก่เกษตรกรจากสินเชือ่ ในระบบมาแก้ปัญหาอีกดว้ ย45
       ประการท่ีสี่ รัฐบาลแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่�ำ โดยจัดต้ังองค์กรเพื่อดูแลสินค้าเกษตร
ท่สี �ำคัญ และแสวงหาแนวทางการยกระดับราคาสินคา้ ด้วยการแทรกแซงราคา ปกปอ้ งผผู้ ลิตในประเทศ
และควบคมุ ปริมาณการผลิต
       ประการที่ห้า รฐั บาลดำ� เนนิ นโยบายรกั ษาระดบั ราคาสนิ คา้ เกษตร โดยจดั ทำ� โครงการจดั ตงั้ ตลาด
ซอ้ื ขายสนิ คา้ เกษตรลว่ งหนา้ เพอ่ื ลดความเสย่ี งและสรา้ งเสถยี รภาพ ซง่ึ มงุ่ ชว่ ยเหลอื เกษตรกรให้ “รอู้ นาคต
ลดความเสี่ยง” อันเป็นการสร้างรายได้ท่ีแน่นอนและลดความเสียหายจากความผันผวนของราคาสินค้า
เกษตร โดยออกพระราชบญั ญตั ิการซือ้ ขายสินค้าเกษตรล่วงหนา้ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้ตงั้ แตว่ ันที่ 12
เมษายน พ.ศ. 2543 เปน็ ต้นไป46
       รัฐบาลภายใตก้ ารน�ำของนายชวน หลีกภยั ด�ำเนินนโยบายดา้ นพลังงานดว้ ย การปรับโครงสรา้ ง
กิจการไฟฟ้าและการจัดต้ังตลาดกลางซื้อขายไฟฟ้า การให้มีกฎหมายก�ำกับดูแลการประกอบธุรกิจด้าน
พลงั งาน การปรบั โครงสรา้ งและแปรรปู การปโิ ตรเลยี มแหง่ ประเทศไทย (ปตท.) นอกจากน้ี รฐั บาลสง่ เสรมิ
ใหภ้ าคเอกชนมสี ว่ นรว่ มในพลงั งานไฟฟ้า ในเรอื่ งการแปรรูปกจิ การไฟฟา้ และการรับซ้อื ไฟฟา้ จากผู้ผลิต
ไฟฟา้ ในรปู IPP (Independent Power Producer) เพอื่ เปน็ การสนบั สนนุ ใหภ้ าคเอกชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม

         45 ธารนิ ทร์ นมิ มานเหมนิ ท์ พเิ ชษฐ พนั ธว์ุ ชิ าตกิ ลุ และพสิ ฐิ ลอ้ี าธรรม. แนวทางการแกไ้ ขวกิ ฤตเศรษฐกจิ ไทยของรฐั บาล
ชวน 2 พฤศจิกายน 2540-ธนั วาคม 2543, (กรงุ เทพฯ: กระทรวงการคลัง, 2544), 114.

         46 ส�ำนักโฆษก. ส�ำนกั เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี, ผลการดำ� เนนิ งาน 3 ปี ของรัฐบาลนายกรฐั มนตรชี วน หลกี ภยั (พ.ย.
2540-พ.ย. 2543), (กรุงเทพฯ: บริษัท มายดพ์ ับลชิ ชง่ิ จ�ำกัด, 2543), 275.
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52