Page 19 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 19
ภมู ิทศั นว์ ฒั นธรรมกับการทอ่ งเทย่ี ว 14-9
การศกึ ษาในประเดน็ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั ภูมทิ ศั น์น้นั ในช่วงแรกจะอยู่ในกล่มุ ของนักภูมิศาสตร์ ต่อมา
ก็ไดข้ ยายไปยังแวดวงอ่นื ๆ ดว้ ย โดยอยู่ในลักษณะของการนำ� ไปประยกุ ตใ์ ช้ในหลายแวดวงดว้ ยกนั เหน็
ไดจ้ ากในแวดวงทางดา้ นสถาปตั ยกรรมทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั ในเรอ่ื งของการจดั การพนื้ ท่ี ไปจนถงึ การอนรุ กั ษ์
ในกลุม่ ของนกั มานษุ ยวทิ ยาในการลงพนื้ ทภี่ าคสนาม (Fieldwork) เพอื่ เกบ็ ข้อมูลกต็ อ้ งอาศัยการศึกษา
ในเชงิ พื้นท่ี ไปจนถงึ ความสัมพันธข์ องผู้คนกับพนื้ ท่นี ้ันๆ ทง้ั ที่เปน็ รูปธรรมและนามธรรม เห็นได้จากการ
ศึกษาในแนวของนิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology) ที่ให้ความส�ำคัญกับการศึกษาการปรับตัว
ของมนุษย์ท่ีเป็นไปตามสภาพแวดล้อมรอบตัว ในแวดวงทางด้านรัฐศาสตร์เกี่ยวกับภูมิรัฐศาสตร์ (Geo-
politics) ทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ หรอื ระหวา่ งรฐั กบั พนื้ ทท่ี างกายภาพ รวมถงึ ผคู้ น
เห็นได้จากการใช้ค�ำว่าภูมิทัศน์ทางการเมือง (The Political Landscape) เพ่ืออธิบายถึงสภาวการณ์
หรอื สถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในปรมิ ณฑลหนงึ่ ๆ ในชว่ งเวลาใดเวลาหนงึ่ หรอื เปน็ ความสบื เนอ่ื งจากอดตี และ
อนาคต ในประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ในทางการเมอื ง เปน็ ตน้ การนำ� เอาสง่ิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ภมู ทิ ศั นไ์ ปประยกุ ต์
ใชใ้ นแวดวงตา่ งๆ หรือการศกึ ษาที่ไปไกลกว่าภูมิทศั น์ทีเ่ ปน็ กายภาพนน้ั จึงไม่ใชเ่ รื่องแปลก
ดงั กลา่ วนย้ี งั เหน็ ไดจ้ ากในมมุ มองของนกั ภมู ศิ าสตรเ์ ดนสิ กอสโกรฟ (Denis Gosgroves) (Hu-
man Geographer) เกย่ี วกบั ภมู ทิ ศั น์ ไดย้ มื เอาการอธบิ ายของจอหน์ เบอรเ์ กอร์ (John Berger) (1962-
2017) นักวิจารณ์ศิลปะ กวี นักวรรณกรรม และจิตรกรชาวอังกฤษ ในเรื่องของการมอง (A Way Of
Seeing)1 โดยมองว่า การมองเห็นโลกภายนอก ในมมุ มองของการมองเห็นด้วยสายตา เปน็ ส่ิงทเ่ี หน็ ได้
อยา่ งชดั เจนในศลิ ปะ และประยกุ ตก์ บั สงิ่ อน่ื ๆ ของมมุ มองในการมองแบบเสน้ ตรง (Jawarski, Adam and
Thurlow, Crispin, (online), p. 3) ขณะเดยี วกันภูมิทัศนใ์ นแงม่ ุมท่เี กยี่ วขอ้ งกับการมองเห็นน้นั ก็ไม่
จำ� กดั อยเู่ พยี งเฉพาะการเปน็ ภาพแทนของพนื้ ท่ี (Space) ในแวดวงทางดา้ นศลิ ปะ หรอื วรรณกรรมเทา่ นน้ั
โดยเป็นมุมมองท่ีสัมพันธ์กับการที่เรามองและตีความพื้นท่ีในแง่มุมท่ีมีความสัมพันธ์กับภูมิศาสตร์ สังคม
เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ไปจนถึงอารมณ์ความรู้สึกอย่างไร ท้ังยังรวมถึงการปฏิบัติการ การใช้พ้ืนท่ีในเชิง
กายภาพ ในเชงิ สุนทรยี ภาพ ทผ่ี ูกโยงกับความทรงจำ� ตำ� นาน เรอ่ื งเล่าต่างๆ ยกตัวอย่างเชน่ ความเช่ือ
ทอ่ี งิ อยู่กับศาสนา ชุดความคิดทางประวตั ศิ าสตร์ การเมอื ง เร่ืองเพศ ชัน้ ชน ชาติพนั ธ์ุ ไปจนถงึ สิง่ ทยี่ งั
หลงเหลืออยู่จากยุคอาณานิคม ที่เหล่าน้ียังคงมีร่อยรอยให้เห็นมาจนถึงในบริบทร่วมสมัย (Jawarski,
Adam and Thurlow, Crispin, (online), p. 3)
นอกจากมมุ มองจากการมองเหน็ แลว้ ในแงท่ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั อารมณค์ วามรสู้ กึ กเ็ ปน็ ประเดน็ ทมี่ คี วาม
เชอ่ื งโยงกบั ภมู ทิ ศั นด์ ว้ ยเชน่ เดยี วกนั เหน็ ไดจ้ ากในเรอ่ื งของความรสู้ กึ ของคนทม่ี ตี อ่ พนื้ ที่ หรอื สถานทน่ี นั้ ๆ
(Sense Of Place) เปน็ ความรูส้ ึก หรอื มุมมองของคนทีม่ ตี ่อพนื้ ทีห่ รือสถานทีน่ นั้ ๆ ไมว่ า่ จะเป็นไปในแง่
บวกหรือแง่ลบ ซึ่งเกิดจากการที่ผู้คนมองว่าเป็นส่วนหน่ึงหรือเป็นเศษเสี้ยวหนึ่งซ่ึงเป็นผลมาจากความ
สมั พนั ธท์ ่ที ำ� ใหพ้ ้นื ทีห่ รอื สถานที่นัน้ ๆ มคี วามส�ำคญั ข้นึ มา ในมมุ มองหลงั สมยั ใหม่ (Post-Modernism)
ก็มองภูมิทัศน์ในฐานะที่เป็นภาพสะท้อนทางวัฒนธรรม โดยสะท้อนออกมาในรูปแบบของค�ำพูดหรือการ
เขียน อยู่ในฐานะของภาพตัวแทน (Representation) ในแง่ท่ีว่าภูมิทัศน์ในลักษณะนี้ รูปแบบน้ีเป็น
1 ดรู ายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ ใน Ways of Seeing โดย John Berger พิมพ์ในปี 1972 โดยสำ� นกั พมิ พ์ Penguin