Page 21 - วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
P. 21
ภมู ทิ ัศน์วฒั นธรรมกบั การทอ่ งเที่ยว 14-11
เร่ืองท่ี 14.1.2
ประเภทและองค์ประกอบของภูมิทัศน์
จากทกี่ ลา่ วมาแลว้ ในขา้ งตน้ ทำ� ใหเ้ หน็ วา่ การใหค้ วามหมายกบั ภมู ทิ ศั นไ์ มส่ ามารถจำ� กดั อยเู่ พยี ง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพเทา่ น้ัน หากแต่หมายรวมถงึ การปฏิบตั ิการทางสงั คม การเปน็ สัญลักษณข์ อง
บางส่ิงบางอย่างด้วย ดังกล่าวน้ีแสดงให้เห็นว่าสภาพภูมิประเทศที่เราเห็นกันอยู่นั้นเป็นสิ่งท่ีมีมากกว่าสิ่ง
ที่เราได้เห็น สังคมเป็นส่วนส�ำคัญในการสร้างสิ่งเหล่าน้ีข้ึนมา เห็นได้จากทิวทัศน์ของเมืองท่ีไม่ได้
หมายความเพยี งแตเ่ ฉพาะตกึ รามบา้ นชอ่ งเทา่ นน้ั หากแตย่ งั หมายรวมถงึ คณุ คา่ ตา่ งๆ ตลอดจนการกระทำ�
ของบุคคลท่ีมีความสัมพันธ์กับพ้ืนที่น้ันๆ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งด้วย ภูมิทัศน์เป็นระบบท่ีรวมไว้ด้วย
ค�ำพดู (Verbal) ส่ือผ่านสายตา (Visual) และสิง่ ท่เี ปน็ กายภาพ (Physical) ของการด�ำรงอยู่ของมนุษย์
สภาพของพ้ืนโลก การสร้างพื้นที่ในมิติที่หลากหลาย ไปจนถึงปรากฏการณ์ที่แสดงให้เห็นถึงการ
เปล่ียนแปลงต่างๆ ในบริบทร่วมสมัย ด้วยเหตุน้ีเองภูมิทัศน์จึงเป็นเร่ืองที่มีการอธิบายและตีความอย่าง
หลากหลาย (Czepczyń ski, Mariusz, 2008, pp. 9-10) อยา่ งไรกต็ ามการจะสรา้ งความเขา้ ใจในประเดน็
นี้ก็มีความจ�ำเป็นท่ีจะต้องท�ำการแบ่งประเภทของภูมิทัศน์ แม้ว่าผู้เขียนจะได้กล่าวไปแล้วว่า ภูมิทัศน์ไม่
ได้จ�ำกัดอยู่ที่เร่ืองใดเรื่องหนึ่งเท่านั้น และไม่สามารถมองแยกกันได้ ข้อถกเถียงของผู้คนที่เก่ียวข้องกับ
เรอ่ื งของภมู ทิ ศั นน์ ท้ี �ำใหเ้ หน็ วา่ ภมู ทิ ศั นป์ ระกอบขนึ้ จากสงิ่ ทมี่ องเหน็ ประกอบดว้ ยสภาพทางกายภาพ เชน่
ลักษณะของพื้นดิน การด�ำรงอยู่ขององค์ประกอบของพืชและสัตว์ ส่ิงท่ีเป็นนามธรรม เช่น แสง สี
สภาพภมู อิ ากาศ และสง่ิ ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งสรรคข์ น้ึ เชน่ สวนสาธารณะ อาคารบา้ นเรอื น (Massey, 2006 อา้ ง
ถึงใน Czepczyń ski, Mariusz, 2008, p. 10)
เมอื่ กลา่ วถงึ ประเภทของภมู ทิ ศั นแ์ ลว้ แมว้ า่ จะมเี กณฑก์ ารแบง่ ประเภทอยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก ซง่ึ ขน้ึ
อยกู่ บั มมุ มอง การนำ� ขอ้ มลู จากการแบง่ ประเภทไปใช้ และความเหมาะสมกบั บรบิ ทของพนื้ ทซี่ งึ่ เราตอ้ งการ
จะทำ� การจำ� แนกด้วย เหน็ ไดจ้ าก อนุสญั ญามรดกโลก (The World Heritage Convention) ทจ่ี ะกลา่ ว
ถงึ ในเรอื่ งตอ่ ไป แตใ่ นเบอ้ื งตน้ เพอื่ ใหง้ า่ ยแกก่ ารทำ� ความเขา้ ใจจงึ ขอแบง่ ภมู ทิ ศั นอ์ อกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่
คอื ภมู ทิ ศั นท์ เี่ กดิ ขนึ้ โดยกระบวนการทางธรรมชาติ และภมู ทิ ศั นท์ เี่ กดิ จากการกระทำ� ของมนษุ ย์ แมว้ า่ จะ
เป็นการแบง่ ทอี่ ยใู่ นลักษณะของการท�ำให้เป็นคตู่ รงขา้ ม หากแตใ่ นทน่ี ี้จะชว่ ยใหผ้ ศู้ ึกษาไดเ้ ขา้ ใจจากส่งิ ที่
เหน็ หรอื สง่ิ ทีส่ ามารถแยกไดอ้ ย่างชัดเจนกอ่ น ซงึ่ จะขอขยายความดงั น้ี
1. ภูมิทัศน์ท่ีเกิดขึ้นโดยกระบวนการทางธรรมชาติ (Natural Landscape) ภูมทิ ัศนป์ ระเภทนี้
เปน็ ภมู ทิ ศั นท์ มี่ นษุ ยย์ งั ไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปด�ำเนินกิจกรรมใดๆ แตใ่ นบรบิ ทรว่ มสมยั นนั้ ภมู ทิ ศั น์ในลกั ษณะนีแ้ ทบ
จะไมม่ เี หลอื อยแู่ ลว้ สบื เนอ่ื งจากบรบิ ทของโลกทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป ทเี่ หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนคอื การเพมิ่ ขน้ึ ของ
จ�ำนวนประชากรท่ีส่งผลต่อการใช้ทรัพยากรท่ีดิน และอื่นๆ ตามมา หรือแม้แต่การจัดกิจกรรมการท่อง
เที่ยวท่ีน�ำเอาทรัพยากรทางธรรมชาติเหล่านี้มาใช้เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ส�ำหรับตัวอย่าง
ของภมู ทิ ศั นท์ เี่ กดิ ขน้ึ โดยกระบวนการทางธรรมชาตนิ นั้ ในตา่ งประเทศ เชน่ ปา่ ดบิ ชนื้ แอมะซอน (Amazon